เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
วันที่ 25 เมษายน 2024, 02:31:47
หน้าแรก ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก



  • ข้อมูลหลักเว็บไซต์
  • เชียงรายวันนี้
  • ท่องเที่ยว-โพสรูป
  • ตลาดซื้อขายสินค้า
  • ธุรกิจบริการ
  • บอร์ดกลุ่มชมรม
  • อัพเดทกระทู้ล่าสุด
  • อื่นๆ

ประกาศ !! กรุณาอ่านเพื่อทำความเข้าใจ : https://forums.chiangraifocus.com/index.php?topic=1025412.0

+  เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
|-+  ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย
| |-+  เรื่องล้านนา ภาษากำเมือง
| | |-+  ขอความรู้ครับ
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: [1] พิมพ์
ผู้เขียน ขอความรู้ครับ  (อ่าน 3625 ครั้ง)
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« เมื่อ: วันที่ 05 เมษายน 2011, 15:34:03 »

อ. เวียงป่าเป้า หยะหยังถึงบ่าฮ้องว่า อ. เมืองป่าเป้าครับ
ต.เวียงกาหลง แหม  ปล.บ้านผมเองครับ  ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #1 เมื่อ: วันที่ 05 เมษายน 2011, 20:52:47 »

ตะก่อนมันมีต้นเป้านักน่ะครับ เปิ้นเลยตั้งจื่อตวยลักษณะของปื้นที่ว่า "เวียงป่าเป้า"

ส่วนเวียงก๋าหลงอันนี้ที่มาของจื่อบ่แน่ชัด แต่ตะก่อนเป๋นเวียงเก่า
เป๋นแหล่งผลิตเครื่องถ้วยสำคัญ และเป๋นจุมตางก๋านก้าระหว่างลุ่มน้ำวัง กก และปิง
ทฤษฎีหนึ่งว่าเป๋นเพราะผังเวียงเก่ามันสลับซับซ้อน มีตางเข้าออกได้หลายตาง
ขนาดอีก๋ายังหลง เปิ้นเลยตั้งจื่อว่า เวียงก๋าหลง อี้หนา


ส่วนนี่เป๋นประวัติเวียงป่าเป้าตี้อยู่ในเว็บต่างๆครับ
อำเภอเวียงป่าเป้า เป็นเมืองเก่าแก่ อายุไม่ต่ำกว่า 200 ปี เจ้าอินทวิชยานนท์ ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้ก่อตั้งโดยมอบหมายให้พระยาไชยวงค์ นำราษฎรชาวเชียงใหม่ขึ้นมาถางป่าอ้อหญ้าไซ ซึ่งอยู่ห่างตัวอำเภอไปทางใต้ แล้วสร้างเมืองชื่อว่า “เมืองเฟยไฮ” และพระยาไชยวงค์( ต้นตระกูล "บุญชัยวงศ์" ในปัจจุบัน )เป็นเจ้าผู้ครองเมือง ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2430 พระยาไชวงค์เห็นว่าเมืองเฟยไฮเป็นที่ราบลุ่ม พอเข้าฤดูฝนน้ำจะท่วมประจำทุกปี จึงให้ราษฎรขึ้นมาถางป่าไม้ที่มีไม้เป้า(เป้าน้อย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่ง) แล้วตั้งขึ้นเป็นเมืองชั่วคราว ในปี พ.ศ.2440 พระยาไชยวงค์ได้ถึงแก่กรรม พระยาเทพณรงค์ (ต้นตระกูล”ทาอุปรงค์”ในปัจจุบัน ) ผู้เป็นบุตรเขย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าผู้ครองเมืองป่าเป้าสืบแทน และได้ใช้อิฐก่อเป็นกำแพงเมือง (ปัจจุบันจะเห็นร่องรอยบริเวณวัดป่าม่วง - วัดศรีคำเวียง) และตั้งชื่อเมืองว่า”เวียงป่าเป้า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ ได้ถึงแก่กรรม พระยาขันธเสมาบดี ( ต้นตระกูล ”ธนะชันขันธ์” ในปัจจุบัน ) ซึ่งเป็นน้องเขยได้รับการแต่งตั้งให้ครองเมืองสืบแทน ประมาณปี พ.ศ 2448 พวกเงี้ยว (ไทยใหญ่) ได้ก่อจารจลขึ้นที่ตัวเมืองเชียงรายและเชียงใหม่ ได้ขึ้นอยู่ในเขตปกครองของอำเภอแม่พริก (บ้านแม่พริก อำเภอแม่สรวยในปัจจุบัน และต่อมาอำเภอแม่พริกได้ย้ายมาอยู่ริมน้ำแม่สรวย และขนานนามใหม่ว่าอำเภอแม่สรวย )อำเภอเวียงป่าเป้าเป็นอำเภอหนึ่งซึ่งอยู่ทิศใต้ของจังหวัดเชียงราย จากทั้งหมด 16 อำเภอ 2 กิ่ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัด 90 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวก ด้วยถนนลาดยาง ทางหลวงหมายเลข 118 ระยะทาง 180 กิโลเมตร จากจังหวัดเชียงราย – จังหวัดเชียงใหม่ และทางหลวงหมายเลข 1035 จากเขตเทศบาลแม่ขะจานไปยังอำเภอวังเหนือ ถึงจังหวัดลำปาง ยาวประมาณ 120 กม. และทางหลวงหมายเลข 1150 จากตำบลบ้านโป่งเทวีไปยังอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ยาวประมาณ 53 กม.ลักษณะที่ตั้งของอำเภอเป็นที่ราบระหว่างภูเขา มีแม่น้ำไหลผ่านจากภูเขาผีปันน้ำ( ดอยนางแก้ว ) เรียกแม่น้ำลาว ไหลลงสู่แม่น้ำกก โดยผ่านอำเภอแม่สรวย อำเภอแม่ลาว อำเภอเมือง และอำเภอเวียงชัย ตามแผนที่สากลจะอยู่ประมาณ ละติจูดที่ 15 – 19 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 99 องศาตะวันออก สูงกว่าระดับน้ำทะเล 547 เมตร พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,217 ตร.กม. หรือ 765,625 ไร่ เป็นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 205,353 ไร่พื้นที่ป่าไม้ 560,272 ไร่
IP : บันทึกการเข้า
oishibenz07
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #2 เมื่อ: วันที่ 05 เมษายน 2011, 20:53:37 »

 ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ
IP : บันทึกการเข้า
>:l!ne-po!nt:<
~: ดาบราชบุตร :~
แฟนพันธ์แท้
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 10,256

~>: แขกดอย :<~


« ตอบ #3 เมื่อ: วันที่ 06 เมษายน 2011, 02:33:45 »

เจ้าของกระทู้ได้ความฮู้เพิ่มผมกะพลอยได้ฮับไปตวย ขอบคุณ เชียงรายพันธุ์แท้  ครับข้อมูลมีประโยชน์เย่อะมากมายหลายกระทู้เลยครับ
IP : บันทึกการเข้า

!!!!!  กว่า ๑,๑๐๐ กม.จากยอดดอยสู่ทะเล...ตะวันออก  !!!!!

www.facebook.com/1100kilometer

||||| ธรรมชาติสร้างอากาศบริสุทธิ์    ส่วนมนุษย์นั้นสร้างอาวุธเพื่อทำลาย |||||
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 07 เมษายน 2011, 18:41:06 »

ตะก่อนมันมีต้นเป้านักน่ะครับ เปิ้นเลยตั้งจื่อตวยลักษณะของปื้นที่ว่า "เวียงป่าเป้า"

ส่วนเวียงก๋าหลงอันนี้ที่มาของจื่อบ่แน่ชัด แต่ตะก่อนเป๋นเวียงเก่า
เป๋นแหล่งผลิตเครื่องถ้วยสำคัญ และเป๋นจุมตางก๋านก้าระหว่างลุ่มน้ำวัง กก และปิง
ทฤษฎีหนึ่งว่าเป๋นเพราะผังเวียงเก่ามันสลับซับซ้อน มีตางเข้าออกได้หลายตาง
ขนาดอีก๋ายังหลง เปิ้นเลยตั้งจื่อว่า เวียงก๋าหลง อี้หนา


ส่วนนี่เป๋นประวัติเวียงป่าเป้าตี้อยู่ในเว็บต่างๆครับ
อำเภอเวียงป่าเป้า เป็นเมืองเก่าแก่ อายุไม่ต่ำกว่า 200 ปี เจ้าอินทวิชยานนท์ ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้ก่อตั้งโดยมอบหมายให้พระยาไชยวงค์ นำราษฎรชาวเชียงใหม่ขึ้นมาถางป่าอ้อหญ้าไซ ซึ่งอยู่ห่างตัวอำเภอไปทางใต้ แล้วสร้างเมืองชื่อว่า “เมืองเฟยไฮ” และพระยาไชยวงค์( ต้นตระกูล "บุญชัยวงศ์" ในปัจจุบัน )เป็นเจ้าผู้ครองเมือง ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2430 พระยาไชวงค์เห็นว่าเมืองเฟยไฮเป็นที่ราบลุ่ม พอเข้าฤดูฝนน้ำจะท่วมประจำทุกปี จึงให้ราษฎรขึ้นมาถางป่าไม้ที่มีไม้เป้า(เป้าน้อย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่ง) แล้วตั้งขึ้นเป็นเมืองชั่วคราว ในปี พ.ศ.2440 พระยาไชยวงค์ได้ถึงแก่กรรม พระยาเทพณรงค์ (ต้นตระกูล”ทาอุปรงค์”ในปัจจุบัน ) ผู้เป็นบุตรเขย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าผู้ครองเมืองป่าเป้าสืบแทน และได้ใช้อิฐก่อเป็นกำแพงเมือง (ปัจจุบันจะเห็นร่องรอยบริเวณวัดป่าม่วง - วัดศรีคำเวียง) และตั้งชื่อเมืองว่า”เวียงป่าเป้า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ ได้ถึงแก่กรรม พระยาขันธเสมาบดี ( ต้นตระกูล ”ธนะชันขันธ์” ในปัจจุบัน ) ซึ่งเป็นน้องเขยได้รับการแต่งตั้งให้ครองเมืองสืบแทน ประมาณปี พ.ศ 2448 พวกเงี้ยว (ไทยใหญ่) ได้ก่อจารจลขึ้นที่ตัวเมืองเชียงรายและเชียงใหม่ ได้ขึ้นอยู่ในเขตปกครองของอำเภอแม่พริก (บ้านแม่พริก อำเภอแม่สรวยในปัจจุบัน และต่อมาอำเภอแม่พริกได้ย้ายมาอยู่ริมน้ำแม่สรวย และขนานนามใหม่ว่าอำเภอแม่สรวย )อำเภอเวียงป่าเป้าเป็นอำเภอหนึ่งซึ่งอยู่ทิศใต้ของจังหวัดเชียงราย จากทั้งหมด 16 อำเภอ 2 กิ่ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัด 90 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวก ด้วยถนนลาดยาง ทางหลวงหมายเลข 118 ระยะทาง 180 กิโลเมตร จากจังหวัดเชียงราย – จังหวัดเชียงใหม่ และทางหลวงหมายเลข 1035 จากเขตเทศบาลแม่ขะจานไปยังอำเภอวังเหนือ ถึงจังหวัดลำปาง ยาวประมาณ 120 กม. และทางหลวงหมายเลข 1150 จากตำบลบ้านโป่งเทวีไปยังอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ยาวประมาณ 53 กม.ลักษณะที่ตั้งของอำเภอเป็นที่ราบระหว่างภูเขา มีแม่น้ำไหลผ่านจากภูเขาผีปันน้ำ( ดอยนางแก้ว ) เรียกแม่น้ำลาว ไหลลงสู่แม่น้ำกก โดยผ่านอำเภอแม่สรวย อำเภอแม่ลาว อำเภอเมือง และอำเภอเวียงชัย ตามแผนที่สากลจะอยู่ประมาณ ละติจูดที่ 15 – 19 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 99 องศาตะวันออก สูงกว่าระดับน้ำทะเล 547 เมตร พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,217 ตร.กม. หรือ 765,625 ไร่ เป็นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 205,353 ไร่พื้นที่ป่าไม้ 560,272 ไร่

ขอบคุณจ๊าดนักครับอ้าย เจียงฮายพันธ์แท้ ขอบคุณครับ
IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #5 เมื่อ: วันที่ 07 เมษายน 2011, 18:48:59 »

ตะก่อนมันมีต้นเป้านักน่ะครับ เปิ้นเลยตั้งจื่อตวยลักษณะของปื้นที่ว่า "เวียงป่าเป้า"

ส่วนเวียงก๋าหลงอันนี้ที่มาของจื่อบ่แน่ชัด แต่ตะก่อนเป๋นเวียงเก่า
เป๋นแหล่งผลิตเครื่องถ้วยสำคัญ และเป๋นจุมตางก๋านก้าระหว่างลุ่มน้ำวัง กก และปิง
ทฤษฎีหนึ่งว่าเป๋นเพราะผังเวียงเก่ามันสลับซับซ้อน มีตางเข้าออกได้หลายตาง
ขนาดอีก๋ายังหลง เปิ้นเลยตั้งจื่อว่า เวียงก๋าหลง อี้หนา


ส่วนนี่เป๋นประวัติเวียงป่าเป้าตี้อยู่ในเว็บต่างๆครับ
อำเภอเวียงป่าเป้า เป็นเมืองเก่าแก่ อายุไม่ต่ำกว่า 200 ปี เจ้าอินทวิชยานนท์ ผู้ครองเมืองเชียงใหม่ เป็นผู้ก่อตั้งโดยมอบหมายให้พระยาไชยวงค์ นำราษฎรชาวเชียงใหม่ขึ้นมาถางป่าอ้อหญ้าไซ ซึ่งอยู่ห่างตัวอำเภอไปทางใต้ แล้วสร้างเมืองชื่อว่า “เมืองเฟยไฮ” และพระยาไชยวงค์( ต้นตระกูล "บุญชัยวงศ์" ในปัจจุบัน )เป็นเจ้าผู้ครองเมือง ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2430 พระยาไชวงค์เห็นว่าเมืองเฟยไฮเป็นที่ราบลุ่ม พอเข้าฤดูฝนน้ำจะท่วมประจำทุกปี จึงให้ราษฎรขึ้นมาถางป่าไม้ที่มีไม้เป้า(เป้าน้อย ซึ่งเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่ง) แล้วตั้งขึ้นเป็นเมืองชั่วคราว ในปี พ.ศ.2440 พระยาไชยวงค์ได้ถึงแก่กรรม พระยาเทพณรงค์ (ต้นตระกูล”ทาอุปรงค์”ในปัจจุบัน ) ผู้เป็นบุตรเขย ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าผู้ครองเมืองป่าเป้าสืบแทน และได้ใช้อิฐก่อเป็นกำแพงเมือง (ปัจจุบันจะเห็นร่องรอยบริเวณวัดป่าม่วง - วัดศรีคำเวียง) และตั้งชื่อเมืองว่า”เวียงป่าเป้า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ ได้ถึงแก่กรรม พระยาขันธเสมาบดี ( ต้นตระกูล ”ธนะชันขันธ์” ในปัจจุบัน ) ซึ่งเป็นน้องเขยได้รับการแต่งตั้งให้ครองเมืองสืบแทน ประมาณปี พ.ศ 2448 พวกเงี้ยว (ไทยใหญ่) ได้ก่อจารจลขึ้นที่ตัวเมืองเชียงรายและเชียงใหม่ ได้ขึ้นอยู่ในเขตปกครองของอำเภอแม่พริก (บ้านแม่พริก อำเภอแม่สรวยในปัจจุบัน และต่อมาอำเภอแม่พริกได้ย้ายมาอยู่ริมน้ำแม่สรวย และขนานนามใหม่ว่าอำเภอแม่สรวย )อำเภอเวียงป่าเป้าเป็นอำเภอหนึ่งซึ่งอยู่ทิศใต้ของจังหวัดเชียงราย จากทั้งหมด 16 อำเภอ 2 กิ่ง อยู่ห่างจากตัวจังหวัด 90 กิโลเมตร การคมนาคมสะดวก ด้วยถนนลาดยาง ทางหลวงหมายเลข 118 ระยะทาง 180 กิโลเมตร จากจังหวัดเชียงราย – จังหวัดเชียงใหม่ และทางหลวงหมายเลข 1035 จากเขตเทศบาลแม่ขะจานไปยังอำเภอวังเหนือ ถึงจังหวัดลำปาง ยาวประมาณ 120 กม. และทางหลวงหมายเลข 1150 จากตำบลบ้านโป่งเทวีไปยังอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ยาวประมาณ 53 กม.ลักษณะที่ตั้งของอำเภอเป็นที่ราบระหว่างภูเขา มีแม่น้ำไหลผ่านจากภูเขาผีปันน้ำ( ดอยนางแก้ว ) เรียกแม่น้ำลาว ไหลลงสู่แม่น้ำกก โดยผ่านอำเภอแม่สรวย อำเภอแม่ลาว อำเภอเมือง และอำเภอเวียงชัย ตามแผนที่สากลจะอยู่ประมาณ ละติจูดที่ 15 – 19 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 99 องศาตะวันออก สูงกว่าระดับน้ำทะเล 547 เมตร พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,217 ตร.กม. หรือ 765,625 ไร่ เป็นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 205,353 ไร่พื้นที่ป่าไม้ 560,272 ไร่

ขอบคุณจ๊าดนักครับอ้าย เจียงฮายพันธ์แท้ ขอบคุณครับ

อ้ายเจียงฮายพันธ์แท้ครับผมได่งิน คนเฒ่าอู้กันเรื่องตำนานพระเจ้าดวงติ๊บลอยน้ำมา 3 กาว่า 5 เนี้ยผมบ่าแน่ใจ๋ (ตี่วัดบ้าบผมมีองค์) เปิ้ลลอยลุกตังได่ครับ ขอบคุณครับ
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 07 เมษายน 2011, 23:16:29 »

อ้ายเจียงฮายพันธ์แท้ครับผมได่งิน คนเฒ่าอู้กันเรื่องตำนานพระเจ้าดวงติ๊บลอยน้ำมา 3 กาว่า 5 เนี้ยผมบ่าแน่ใจ๋ (ตี่วัดบ้าบผมมีองค์) เปิ้ลลอยลุกตังได่ครับ ขอบคุณครับ

จื่อเปิ้น "พระเจ้าดวงติ๊บ" กาว่า "พระเจ้าตองติ๊บ" ครับ
IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #7 เมื่อ: วันที่ 08 เมษายน 2011, 11:09:25 »

อ้ายเจียงฮายพันธ์แท้ครับผมได่งิน คนเฒ่าอู้กันเรื่องตำนานพระเจ้าดวงติ๊บลอยน้ำมา 3 กาว่า 5 เนี้ยผมบ่าแน่ใจ๋ (ตี่วัดบ้าบผมมีองค์) เปิ้ลลอยลุกตังได่ครับ ขอบคุณครับ

จื่อเปิ้น "พระเจ้าดวงติ๊บ" กาว่า "พระเจ้าตองติ๊บ" ครับ
พระเจ้าดวงติ๊บครับ
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #8 เมื่อ: วันที่ 08 เมษายน 2011, 21:44:46 »

อ้ายเจียงฮายพันธ์แท้ครับผมได่งิน คนเฒ่าอู้กันเรื่องตำนานพระเจ้าดวงติ๊บลอยน้ำมา 3 กาว่า 5 เนี้ยผมบ่าแน่ใจ๋ (ตี่วัดบ้าบผมมีองค์) เปิ้ลลอยลุกตังได่ครับ ขอบคุณครับ

จื่อเปิ้น "พระเจ้าดวงติ๊บ" กาว่า "พระเจ้าตองติ๊บ" ครับ
พระเจ้าดวงติ๊บครับ

รบก๋วนถามแหมกำครับว่า วัดไหน หมู่บ้านอะหยัง
ตำบลนี่ ตำบลเวียงก๋าหลงแม่นก่อครับ
IP : บันทึกการเข้า
คนฮักหมา
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 333


« ตอบ #9 เมื่อ: วันที่ 08 เมษายน 2011, 23:19:26 »

ผมเกยอ่านประวัติของเจ้าแม่ดอยนางแก้วเมื่อครั้งยังบ่าแป๋งตางใหม่เต้อเกี่ยวกับประวัติอำเภอแม่สรวยเอาเต้าตี้ปอจ่ำได้นะครับ เมื่อครั้งเจียงใหม่ยังเป๋นเมืองขึ้นของพม่าเจ้าเมืองทั้งหลายนิยมส่งลูกจายไปเฮียนยังเมืองพม่าดังนั้นเจ้าเมืองเจียงใหม่กะเหมือนกั๋นส่งลูกจายไปเฮียนยังเมืองพม่าแต่ด้วยเจ้าชายแห่งเมืองเจียงใหม่มีรูปลักษณตี้งดงาม(บ่าเด่วนี้เปิ่นว่าหลออี้น้อ)จึงไปถูกต๋าต้องใจกับเจ้าหญิงของเมืองพม่าเข้า(จ๋ำจื้อของเจ้าหญิงบ่าได้ครับ)ทั้งสองจึงเกิดความฮักซึ่งกั๋นและกั๋นเข้าปอเจ้าชายจากเมืองเจียงใหม่เฮียนจบแล้วจึงต้องปิ๊กมาเจียงใหม่โดยตี้บ่าได้บอกเจ้าหญิงได้ฮู้(ลักปิ๊กมาอี้เต้อะ) ปอเจ้าหญิงได้ฮู้ก่อออกเดินตางโตยมาพร้อมกับบ่าวไพร่และนางสนมแหมหลายคน ปอเจ้าเมืองของพม่า(ขอสุม๊าเต้อะผมจ๋ำบ่าได้ว่าเมืองหยัง) เจ้าเมืองจึงได้มีคำสั่งหื้อ ส่างสวย โดยมีศักดิ์เป็นปี้จายได้ออกโตยหาเจ้าหญิงหื้อกลับมาหื้อได้โดนใจ้จ้างเป็นพาหานะในการเดินตางพอรอนแรมมาถึงแม่น้ำสายหนึ่งทางด้านทิศเหนือของเมืองกาหลงจึงได้พักขบวน ณ.ตี้แห่งนั้นพอตื่นเจ้าขึ้นมาก่ะได้เอาจ้างอาบน้ำอาบต้าตี้แม่น้ำนั้นกะเลยตั้งจื้อแม่นน้ำนั้นว่าแม่น้ำต้าจ้าง(ต่อมาคงจะเกิดคำผวนเลยเป๋นแม่น้ำต๋าจ้าง(แม่น้ำตาช้าง)ในปัจจุบัน อยู่ในต๋ำบล ป่าแดด อ.แม่สรวย)ฝ่ายเจ้าหญิงโดยตี้เดินตางด้วยความฮี้บฮ้อนตี้จะหื้อตันกับขบวนของเจ้าชายเมืองเจียงใหม่และยังหนีการติดต๋ามของส่างสวยแหมเจ้าหญิงเลยขาดใจ๋ต๋ายตี้ดอยแห่งหนึ้งระหว่างเขตติดต่อกับเจียงใหม่ พอสางสวยเดินมาตันขบวนของเจ้าหญิงตี้ดอยแห่งนั้นฮู้ว่าเจ้าหญิงได้สิ้นพระชนแล้วจึงได้แป๋ง ปลัดขิ๊ก ใว้ตี้ตรงตี้เจ้าหญิงได้สิ้นพระชนเพื่อเป็นการประจานเจ้าหญิงในการหนีโตยป้อจาย ส่างสวยพอได้จัดการทุกอย่างแล้วก่ะได้เดินตางกลับโดยใจ้เส้นตางเดิมจึงได้สังเกตว่าตี้ลุ่มน้ำ ต้าจ้างนะเมาะตี้จะเป๋นตี้ตั้งเมือง พอปิ๊กไปถึงเมืองพม่าได้รายงานหื้อเจ้าเมืองได้ฝังจึงได้ย้ายไพร่พลมาตั้งยังตี้ราบลุ่มแม่น้ำต้าจ้าง จึงได้ตั้งจื้อว่าเมือง ส่างสวย (ผมก่ะว่า เมื่อก่อนเขาชอบว่าจาว บ้านโป่ง หัวฝาย ว่าเป๋น จาวเงี้ยวๆคงจะเป๋นจะอี้ล่ะครับ)ต่อมาเกิดคำผวนไปผวนมาจะไดบ่าฮู้เลยเกิดเป๋นเมือง แม่สรวย แตน ....(อ่านๆแล้วหยังกับเพลงมะเมี้ยห่ะเนาะ)555

ถูกผิดจะไดขอสุมาเต้อะเน้อครับ ผมได้อ่านมาเมิน...ล่ะครับจ๋ำได้ค๋าวๆ รออ้ายเจียงฮายพันธ์แท้ มาเสริมแหมกำเน้อครับ
IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #10 เมื่อ: วันที่ 09 เมษายน 2011, 07:24:20 »

อ้ายเจียงฮายพันธ์แท้ครับผมได่งิน คนเฒ่าอู้กันเรื่องตำนานพระเจ้าดวงติ๊บลอยน้ำมา 3 กาว่า 5 เนี้ยผมบ่าแน่ใจ๋ (ตี่วัดบ้าบผมมีองค์) เปิ้ลลอยลุกตังได่ครับ ขอบคุณครับ

จื่อเปิ้น "พระเจ้าดวงติ๊บ" กาว่า "พระเจ้าตองติ๊บ" ครับ
พระเจ้าดวงติ๊บครับ

รบก๋วนถามแหมกำครับว่า วัดไหน หมู่บ้านอะหยัง
ตำบลนี่ ตำบลเวียงก๋าหลงแม่นก่อครับ

วัดศรีบุญโยงต๋งม่านครับ)
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #11 เมื่อ: วันที่ 09 เมษายน 2011, 22:20:31 »

องค์นี้ก่อครับ

ที่มา
http://www.komchadluek.net/detail/20101113/79233/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%87.html


* 001.jpg (32.33 KB, 480x393 - ดู 630 ครั้ง.)
IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #12 เมื่อ: วันที่ 10 เมษายน 2011, 07:12:12 »

ครับอ้ายแม่นแล้วครับ อยากอู้ว่าเปิ้ลลอยน้ำมาจากเมืองใดครับ  ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #13 เมื่อ: วันที่ 10 เมษายน 2011, 21:53:14 »

หากจะกล่าวถึงพระเจ้าตองติ๊บ วัดศรีบุญโยง (โต้งม่าน) ก็ต้องย้อนไปอู้ถึง
พระเจ้าตองติ๊บ ที่ศรีถ้อย แม่สรวยก่อนน่อ


พระเจ้าตองติ๊บ หรือ พระเจ้าทองทิพย์
ของ ต.ศรีถ้อย อ.แม่สรวย จ.เชียงราย

ประวัติพระเจ้าตองติ๊บ ต.ศรีถ้อย

พระเจ้าทองทิพย์"เป็นนามของพระพุทธรูปเก่าแก่เดิมอยู่กรุงศรีสันตนาคนหุต(หลวงพระบาง)ประเทศลาวโดยมีอายุประมาณพันปีเศษแล้ว เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ในการขอพรให้มีบุตร ดังปรากฏในเรื่องราวแต่หนหลังดังนี้

เมื่อ พ.ศ.2063 พระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นโอรสของพระเจ้าวิชุลราช ขึ้นครองนครเชียงทอง (หลวงพระบาง) พระเจ้าโพธิสารขึ้นครองราชย์เมื่ออายุ 19 พรรษา ต่อมาได้ไปขอ “พระนางยอดคำทิพย์” ราชธิดาพญาเกศ กษัตริย์เชียงใหม่ มาเป็นมเหสี ทั้งสองพระองค์ครองราชย์สมบัติร่วมกันเป็นเวลาหลายปีก็ไม่มีโอรส พระเจ้าโพธิสารทรงวิตกว่าภายหน้าจะไม่มีผู้สืบราชต่อไปจึงได้ดำริขึ้นว่า "พระเจ้าทองทิพย์เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของนครเชียงทองประจำนครมาแต่โบราณกาล สามารถดลบันดาลให้ผู้ที่ไปขอพรสมความปรารถนาได้ดังที่ขอ" ดังนั้นในวันวิสาขบูชาพระเจ้าโพธิสารพร้อมด้วยพระนางยอดคำทิพย์และบริวารจึงได้ นำดอกไม้ธูปเทียนไปนมัสการพระเจ้าทองทิพย์ตามประเพณีนิยมในวันวิสาขบูชา เมื่อนมัสการแล้วก็ขอพรตั้งสัตยาธิฐานต่อหน้าพระเจ้าทองทิพย์ขอให้พระนางยอดคำทิพย์มีพระโอรสด้วย ไม่ช้า พระนางยอดคำทิพย์ก็ทรงมีพระครรภ์ เมื่อครบกำหนดก็ประสูติเป็นพระโอรสทรงพระนามว่า "ไชยเชษฐากุมาร" (ต่อมาคือ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช)

เมื่อพระไชยเชษฐาเจริญวัย มีอายุ 14 พรรษา พระอัยกาธิบดี (ตา) หรือพญาเกศ กษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่สวรรคตและเกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายในการเมืองล้านนา เสนาอำมาตย์และพระสงฆเจ้าทั้งหลายของนครเชียงใหม่นำโดย พระยาสามล้านอ้าย และพระยาเชียงแสนพร้อมกันมาทูลขอพระเจ้าไชยเชษฐาไปครองนครเชียงใหม่พระเจ้าโพธิสารก็ทรงอนุญาตให้พระโอรสไปครองนครเชียงใหม่โดยพระเจ้าโพธิสารได้ทรงตกแต่งขบวนแห่และยกทัพใหญ่ไปส่งพระโอรสด้วย ก่อนที่พระไชยเชษฐาจะเสด็จไปนครเชียงใหม่ พระเจ้าโพธิสารได้บอกให้พระโอรสอัญเชิญพระเจ้าทองทิพย์ไปด้วย เพราะเสมือนให้กำเนิดมาเมื่อตอนไปขอให้พระมเหสีมีพระโอรส พระเจ้าไชยเชษฐาจึงได้อัญเชิญพระเจ้าทองทิพย์ ลงเรือไปด้วยเพื่อจะนำไปยังนครเชียงใหม่

พระองค์ทรงลงเรือพระที่นั่งขึ้นมาตามลำน้ำโขงเข้าสู่แม่น้ำกกและแม่น้ำลาวตามลำดับ ครั้นเรือมาถึงหน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน เรือพระที่นั่งก็มาติดอยู่ทั้งๆที่ไม่มีสิ่งขีดขวางอะไรเลย ลูกเรือพยายามจะถ่อเรือขึ้นเรือก็ไม่ขึ้น จะถ่อเรือลงเรือก็ไม่ลง เหตุที่เป็นเช่นนั้น สันนิษฐานกันว่าเทพยดาที่ปกปักรักษาพระเจ้าทองทิพย์ทรงล่วงรู้ว่าที่เชียงใหม่นั้นมีปูชนียสถานและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนมากมายอยู่แล้ว จึงใคร่ที่จะให้พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์นี้ จึงบันดาลให้เรือพระที่นั่งติดอยู่ที่หน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาทรงเห็นว่าลูกเรือพยายามจนสุดความสามารถแล้ว จึงสั่งให้บรรดาท้าวพระยาเสนาอำมาตย์ นิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ขึ้นไว้ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบันและทรงโปรดให้สร้างมณฑปไว้เป็นที่ประดิษฐานองค์พระเจ้าทองทิพย์ โดยคิดว่าเมื่อไม่ได้ประดิษฐานไว้ใกล้เชียงใหม่สมดังความประสงค์ ถ้ามีธุระไปหลวงพระบางก็ดี หรือกลับเชียงใหม่ก็ดี จะแวะไปทำการสักการบูชาหรือถวายเครื่องทรงได้สะดวก เมื่ออาราธนานิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานที่นั่นแล้วก็เสด็จไปนครเชียงใหม่

พระเจ้าไชยเชษฐาครองราชย์ที่นครเชียงใหม่ได้เพียงสองปี พระเจ้าโพธิสารก็สวรรคต เสนาอำมาตย์นครเชียงทองจึงมาทูลเชิญพระเจ้าไชยเชษฐากลับ ในปี พ.ศ.2090 พระเจ้าไชยเชษฐาจึงได้กลับไปครองหลวงพระบาง เป็นกษัตริย์ล้านช้าง ขณะที่ทางล้านนาได้ตั้งกษัตริย์องค์ใหม่ คือ พญาแม่กุ ส่วนพระเจ้าทองทิพย์ที่ศรีถ้อยก็ถูกผู้คนหลงลืมไป

เวลาผ่านไปหลายร้อยปี ในปีขาล ราว พ.ศ.2368 ครูบายาโณพร้อมด้วยอุบาสกสามคน คือ ท้าวสงคราม แสนขวาง หมื่นขันธ์ ได้ลงขันกันสร้างวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทองทิพย์ท่ามกลางป่านั้น และได้บอกเล่าให้ประชาชนรู้ถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้าทองทิพย์ ประชาชนเกิดความเลื่อมใสเคารพนับถือกันมาจนถือเป็นประเพณีสักการบูชาประจำปี

ต่อมาในปี พ.ศ 2397 ท่านครูบายะ ครูบาถา ครูบาพรหมตลอดถึงเจ้าธรรมลังกา (เจ้าหลวงเมืองเชียงราย) และพระยาไชยวงค์ผู้รักษาเมืองหนองขวาง (อำเภอแม่สรวยปัจจุบัน) ได้เป็นประธานโดยการนำราษฎรมาช่วยกันบูรณะ วิหารเป็นที่ประดิษฐานของพระเจ้าทองทิพย์ ครั้นถึงพ.ศ. 2461 เจ้าดารารัศมีและเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครอง นครเชียงใหม่ ได้ทำการสักการบูชาพระเจ้าทองทิพย์และมาพักแรมอยู่ที่นั้นหลายคืนเห็นว่าวิหารนั้นชำรุดมากจึงแนะนำให้ครูบาชัยวุติวชิรปัญญาพร้อมด้วยคณะสงฆ์และคณะศรัทธาช่วยกันบูรณะวิหารจนเสร็จในปีนั้น


ประวัติพระเจ้าตองติ๊บในวัดเขต อ.แม่สรวย และ อ.เวียงป่าเป้า

องค์พระเจ้าทองทิพย์ที่ประดิษฐานอยู่ตามวัดต่างๆในเขตอำเภอแม่สรวยและเวียงป่าเป้า เหตุที่เรียกว่า พระเจ้าทองทิพย์เนื่องจากได้นำ พระพุทธรูปจาก วัดพระเจ้าทองทิพย์ไปสักกาบูชา จึงเรียกชื่อตามพระเจ้าทองทิพย์

"องค์จริงดั้งเดิมยังคงประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์จนถึงปัจจุบัน"
ลักษณะของพระเจ้าทองทิพย์ อยู่ในปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 80 ซม. สูง 120 ซม.

พระคาถาบูชาพระเจ้าทองทิพย์
ตั้งนะโม 3 จบ


ยัง วะระคุณะ สัมปันนัง ทิพพะ สุวรรณัง พุทธะปะฏิมา ฆะรัง ตัง สิระสา นะมามิ เอเตนะ สักกาเรนะมัยหัง สะทา โตถิ โหน ตุ ขิปปัง เม ตัสสานุภาเวนะ สัพพะ ธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตูติ ฯ
ข้าพเจ้าขอน้อมบูชาพระเจ้าทองทิพย์ ที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยเศียรเกล้า ด้วยอานุภาพแห่งการน้อมบูชานี้ ขออำนาจคุณพระเจ้าทองทิพย์ จงอำนวยอวยพรและปกปักรักษาข้าพเจ้าให้มีความสุข ความเจริญ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยทั้งปวง ปรารถนาสิ่งใดให้สำเร็จทุกประการเทอญ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 10 เมษายน 2011, 22:08:07 โดย เชียงรายพันธุ์แท้ » IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #14 เมื่อ: วันที่ 11 เมษายน 2011, 17:00:17 »

หากจะกล่าวถึงพระเจ้าตองติ๊บ วัดศรีบุญโยง (โต้งม่าน) ก็ต้องย้อนไปอู้ถึง
พระเจ้าตองติ๊บ ที่ศรีถ้อย แม่สรวยก่อนน่อ


พระเจ้าตองติ๊บ หรือ พระเจ้าทองทิพย์
ของ ต.ศรีถ้อย อ.แม่สรวย จ.เชียงราย

ประวัติพระเจ้าตองติ๊บ ต.ศรีถ้อย

พระเจ้าทองทิพย์"เป็นนามของพระพุทธรูปเก่าแก่เดิมอยู่กรุงศรีสันตนาคนหุต(หลวงพระบาง)ประเทศลาวโดยมีอายุประมาณพันปีเศษแล้ว เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ในการขอพรให้มีบุตร ดังปรากฏในเรื่องราวแต่หนหลังดังนี้

เมื่อ พ.ศ.2063 พระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นโอรสของพระเจ้าวิชุลราช ขึ้นครองนครเชียงทอง (หลวงพระบาง) พระเจ้าโพธิสารขึ้นครองราชย์เมื่ออายุ 19 พรรษา ต่อมาได้ไปขอ “พระนางยอดคำทิพย์” ราชธิดาพญาเกศ กษัตริย์เชียงใหม่ มาเป็นมเหสี ทั้งสองพระองค์ครองราชย์สมบัติร่วมกันเป็นเวลาหลายปีก็ไม่มีโอรส พระเจ้าโพธิสารทรงวิตกว่าภายหน้าจะไม่มีผู้สืบราชต่อไปจึงได้ดำริขึ้นว่า "พระเจ้าทองทิพย์เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของนครเชียงทองประจำนครมาแต่โบราณกาล สามารถดลบันดาลให้ผู้ที่ไปขอพรสมความปรารถนาได้ดังที่ขอ" ดังนั้นในวันวิสาขบูชาพระเจ้าโพธิสารพร้อมด้วยพระนางยอดคำทิพย์และบริวารจึงได้ นำดอกไม้ธูปเทียนไปนมัสการพระเจ้าทองทิพย์ตามประเพณีนิยมในวันวิสาขบูชา เมื่อนมัสการแล้วก็ขอพรตั้งสัตยาธิฐานต่อหน้าพระเจ้าทองทิพย์ขอให้พระนางยอดคำทิพย์มีพระโอรสด้วย ไม่ช้า พระนางยอดคำทิพย์ก็ทรงมีพระครรภ์ เมื่อครบกำหนดก็ประสูติเป็นพระโอรสทรงพระนามว่า "ไชยเชษฐากุมาร" (ต่อมาคือ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช)

เมื่อพระไชยเชษฐาเจริญวัย มีอายุ 14 พรรษา พระอัยกาธิบดี (ตา) หรือพญาเกศ กษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่สวรรคตและเกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายในการเมืองล้านนา เสนาอำมาตย์และพระสงฆเจ้าทั้งหลายของนครเชียงใหม่นำโดย พระยาสามล้านอ้าย และพระยาเชียงแสนพร้อมกันมาทูลขอพระเจ้าไชยเชษฐาไปครองนครเชียงใหม่พระเจ้าโพธิสารก็ทรงอนุญาตให้พระโอรสไปครองนครเชียงใหม่โดยพระเจ้าโพธิสารได้ทรงตกแต่งขบวนแห่และยกทัพใหญ่ไปส่งพระโอรสด้วย ก่อนที่พระไชยเชษฐาจะเสด็จไปนครเชียงใหม่ พระเจ้าโพธิสารได้บอกให้พระโอรสอัญเชิญพระเจ้าทองทิพย์ไปด้วย เพราะเสมือนให้กำเนิดมาเมื่อตอนไปขอให้พระมเหสีมีพระโอรส พระเจ้าไชยเชษฐาจึงได้อัญเชิญพระเจ้าทองทิพย์ ลงเรือไปด้วยเพื่อจะนำไปยังนครเชียงใหม่

พระองค์ทรงลงเรือพระที่นั่งขึ้นมาตามลำน้ำโขงเข้าสู่แม่น้ำกกและแม่น้ำลาวตามลำดับ ครั้นเรือมาถึงหน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน เรือพระที่นั่งก็มาติดอยู่ทั้งๆที่ไม่มีสิ่งขีดขวางอะไรเลย ลูกเรือพยายามจะถ่อเรือขึ้นเรือก็ไม่ขึ้น จะถ่อเรือลงเรือก็ไม่ลง เหตุที่เป็นเช่นนั้น สันนิษฐานกันว่าเทพยดาที่ปกปักรักษาพระเจ้าทองทิพย์ทรงล่วงรู้ว่าที่เชียงใหม่นั้นมีปูชนียสถานและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนมากมายอยู่แล้ว จึงใคร่ที่จะให้พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์นี้ จึงบันดาลให้เรือพระที่นั่งติดอยู่ที่หน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาทรงเห็นว่าลูกเรือพยายามจนสุดความสามารถแล้ว จึงสั่งให้บรรดาท้าวพระยาเสนาอำมาตย์ นิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ขึ้นไว้ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบันและทรงโปรดให้สร้างมณฑปไว้เป็นที่ประดิษฐานองค์พระเจ้าทองทิพย์ โดยคิดว่าเมื่อไม่ได้ประดิษฐานไว้ใกล้เชียงใหม่สมดังความประสงค์ ถ้ามีธุระไปหลวงพระบางก็ดี หรือกลับเชียงใหม่ก็ดี จะแวะไปทำการสักการบูชาหรือถวายเครื่องทรงได้สะดวก เมื่ออาราธนานิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานที่นั่นแล้วก็เสด็จไปนครเชียงใหม่

พระเจ้าไชยเชษฐาครองราชย์ที่นครเชียงใหม่ได้เพียงสองปี พระเจ้าโพธิสารก็สวรรคต เสนาอำมาตย์นครเชียงทองจึงมาทูลเชิญพระเจ้าไชยเชษฐากลับ ในปี พ.ศ.2090 พระเจ้าไชยเชษฐาจึงได้กลับไปครองหลวงพระบาง เป็นกษัตริย์ล้านช้าง ขณะที่ทางล้านนาได้ตั้งกษัตริย์องค์ใหม่ คือ พญาแม่กุ ส่วนพระเจ้าทองทิพย์ที่ศรีถ้อยก็ถูกผู้คนหลงลืมไป

เวลาผ่านไปหลายร้อยปี ในปีขาล ราว พ.ศ.2368 ครูบายาโณพร้อมด้วยอุบาสกสามคน คือ ท้าวสงคราม แสนขวาง หมื่นขันธ์ ได้ลงขันกันสร้างวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทองทิพย์ท่ามกลางป่านั้น และได้บอกเล่าให้ประชาชนรู้ถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้าทองทิพย์ ประชาชนเกิดความเลื่อมใสเคารพนับถือกันมาจนถือเป็นประเพณีสักการบูชาประจำปี

ต่อมาในปี พ.ศ 2397 ท่านครูบายะ ครูบาถา ครูบาพรหมตลอดถึงเจ้าธรรมลังกา (เจ้าหลวงเมืองเชียงราย) และพระยาไชยวงค์ผู้รักษาเมืองหนองขวาง (อำเภอแม่สรวยปัจจุบัน) ได้เป็นประธานโดยการนำราษฎรมาช่วยกันบูรณะ วิหารเป็นที่ประดิษฐานของพระเจ้าทองทิพย์ ครั้นถึงพ.ศ. 2461 เจ้าดารารัศมีและเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครอง นครเชียงใหม่ ได้ทำการสักการบูชาพระเจ้าทองทิพย์และมาพักแรมอยู่ที่นั้นหลายคืนเห็นว่าวิหารนั้นชำรุดมากจึงแนะนำให้ครูบาชัยวุติวชิรปัญญาพร้อมด้วยคณะสงฆ์และคณะศรัทธาช่วยกันบูรณะวิหารจนเสร็จในปีนั้น


ประวัติพระเจ้าตองติ๊บในวัดเขต อ.แม่สรวย และ อ.เวียงป่าเป้า

องค์พระเจ้าทองทิพย์ที่ประดิษฐานอยู่ตามวัดต่างๆในเขตอำเภอแม่สรวยและเวียงป่าเป้า เหตุที่เรียกว่า พระเจ้าทองทิพย์เนื่องจากได้นำ พระพุทธรูปจาก วัดพระเจ้าทองทิพย์ไปสักกาบูชา จึงเรียกชื่อตามพระเจ้าทองทิพย์

"องค์จริงดั้งเดิมยังคงประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์จนถึงปัจจุบัน"
ลักษณะของพระเจ้าทองทิพย์ อยู่ในปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 80 ซม. สูง 120 ซม.

พระคาถาบูชาพระเจ้าทองทิพย์
ตั้งนะโม 3 จบ


ยัง วะระคุณะ สัมปันนัง ทิพพะ สุวรรณัง พุทธะปะฏิมา ฆะรัง ตัง สิระสา นะมามิ เอเตนะ สักกาเรนะมัยหัง สะทา โตถิ โหน ตุ ขิปปัง เม ตัสสานุภาเวนะ สัพพะ ธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตูติ ฯ
ข้าพเจ้าขอน้อมบูชาพระเจ้าทองทิพย์ ที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยเศียรเกล้า ด้วยอานุภาพแห่งการน้อมบูชานี้ ขออำนาจคุณพระเจ้าทองทิพย์ จงอำนวยอวยพรและปกปักรักษาข้าพเจ้าให้มีความสุข ความเจริญ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยทั้งปวง ปรารถนาสิ่งใดให้สำเร็จทุกประการเทอญ

ขอบคุณครับ
แล้วบ่าได่จะถึงคิวบ้าบผม  ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #15 เมื่อ: วันที่ 14 เมษายน 2011, 14:21:46 »

หากจะกล่าวถึงพระเจ้าตองติ๊บ วัดศรีบุญโยง (โต้งม่าน) ก็ต้องย้อนไปอู้ถึง
พระเจ้าตองติ๊บ ที่ศรีถ้อย แม่สรวยก่อนน่อ


พระเจ้าตองติ๊บ หรือ พระเจ้าทองทิพย์
ของ ต.ศรีถ้อย อ.แม่สรวย จ.เชียงราย

ประวัติพระเจ้าตองติ๊บ ต.ศรีถ้อย

พระเจ้าทองทิพย์"เป็นนามของพระพุทธรูปเก่าแก่เดิมอยู่กรุงศรีสันตนาคนหุต(หลวงพระบาง)ประเทศลาวโดยมีอายุประมาณพันปีเศษแล้ว เชื่อกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ในการขอพรให้มีบุตร ดังปรากฏในเรื่องราวแต่หนหลังดังนี้

เมื่อ พ.ศ.2063 พระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นโอรสของพระเจ้าวิชุลราช ขึ้นครองนครเชียงทอง (หลวงพระบาง) พระเจ้าโพธิสารขึ้นครองราชย์เมื่ออายุ 19 พรรษา ต่อมาได้ไปขอ “พระนางยอดคำทิพย์” ราชธิดาพญาเกศ กษัตริย์เชียงใหม่ มาเป็นมเหสี ทั้งสองพระองค์ครองราชย์สมบัติร่วมกันเป็นเวลาหลายปีก็ไม่มีโอรส พระเจ้าโพธิสารทรงวิตกว่าภายหน้าจะไม่มีผู้สืบราชต่อไปจึงได้ดำริขึ้นว่า "พระเจ้าทองทิพย์เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของนครเชียงทองประจำนครมาแต่โบราณกาล สามารถดลบันดาลให้ผู้ที่ไปขอพรสมความปรารถนาได้ดังที่ขอ" ดังนั้นในวันวิสาขบูชาพระเจ้าโพธิสารพร้อมด้วยพระนางยอดคำทิพย์และบริวารจึงได้ นำดอกไม้ธูปเทียนไปนมัสการพระเจ้าทองทิพย์ตามประเพณีนิยมในวันวิสาขบูชา เมื่อนมัสการแล้วก็ขอพรตั้งสัตยาธิฐานต่อหน้าพระเจ้าทองทิพย์ขอให้พระนางยอดคำทิพย์มีพระโอรสด้วย ไม่ช้า พระนางยอดคำทิพย์ก็ทรงมีพระครรภ์ เมื่อครบกำหนดก็ประสูติเป็นพระโอรสทรงพระนามว่า "ไชยเชษฐากุมาร" (ต่อมาคือ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช)

เมื่อพระไชยเชษฐาเจริญวัย มีอายุ 14 พรรษา พระอัยกาธิบดี (ตา) หรือพญาเกศ กษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่สวรรคตและเกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายในการเมืองล้านนา เสนาอำมาตย์และพระสงฆเจ้าทั้งหลายของนครเชียงใหม่นำโดย พระยาสามล้านอ้าย และพระยาเชียงแสนพร้อมกันมาทูลขอพระเจ้าไชยเชษฐาไปครองนครเชียงใหม่พระเจ้าโพธิสารก็ทรงอนุญาตให้พระโอรสไปครองนครเชียงใหม่โดยพระเจ้าโพธิสารได้ทรงตกแต่งขบวนแห่และยกทัพใหญ่ไปส่งพระโอรสด้วย ก่อนที่พระไชยเชษฐาจะเสด็จไปนครเชียงใหม่ พระเจ้าโพธิสารได้บอกให้พระโอรสอัญเชิญพระเจ้าทองทิพย์ไปด้วย เพราะเสมือนให้กำเนิดมาเมื่อตอนไปขอให้พระมเหสีมีพระโอรส พระเจ้าไชยเชษฐาจึงได้อัญเชิญพระเจ้าทองทิพย์ ลงเรือไปด้วยเพื่อจะนำไปยังนครเชียงใหม่

พระองค์ทรงลงเรือพระที่นั่งขึ้นมาตามลำน้ำโขงเข้าสู่แม่น้ำกกและแม่น้ำลาวตามลำดับ ครั้นเรือมาถึงหน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน เรือพระที่นั่งก็มาติดอยู่ทั้งๆที่ไม่มีสิ่งขีดขวางอะไรเลย ลูกเรือพยายามจะถ่อเรือขึ้นเรือก็ไม่ขึ้น จะถ่อเรือลงเรือก็ไม่ลง เหตุที่เป็นเช่นนั้น สันนิษฐานกันว่าเทพยดาที่ปกปักรักษาพระเจ้าทองทิพย์ทรงล่วงรู้ว่าที่เชียงใหม่นั้นมีปูชนียสถานและสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถือของประชาชนมากมายอยู่แล้ว จึงใคร่ที่จะให้พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์นี้ จึงบันดาลให้เรือพระที่นั่งติดอยู่ที่หน้าวัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบัน เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาทรงเห็นว่าลูกเรือพยายามจนสุดความสามารถแล้ว จึงสั่งให้บรรดาท้าวพระยาเสนาอำมาตย์ นิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ขึ้นไว้ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์ปัจจุบันและทรงโปรดให้สร้างมณฑปไว้เป็นที่ประดิษฐานองค์พระเจ้าทองทิพย์ โดยคิดว่าเมื่อไม่ได้ประดิษฐานไว้ใกล้เชียงใหม่สมดังความประสงค์ ถ้ามีธุระไปหลวงพระบางก็ดี หรือกลับเชียงใหม่ก็ดี จะแวะไปทำการสักการบูชาหรือถวายเครื่องทรงได้สะดวก เมื่ออาราธนานิมนต์พระเจ้าทองทิพย์ประดิษฐานที่นั่นแล้วก็เสด็จไปนครเชียงใหม่

พระเจ้าไชยเชษฐาครองราชย์ที่นครเชียงใหม่ได้เพียงสองปี พระเจ้าโพธิสารก็สวรรคต เสนาอำมาตย์นครเชียงทองจึงมาทูลเชิญพระเจ้าไชยเชษฐากลับ ในปี พ.ศ.2090 พระเจ้าไชยเชษฐาจึงได้กลับไปครองหลวงพระบาง เป็นกษัตริย์ล้านช้าง ขณะที่ทางล้านนาได้ตั้งกษัตริย์องค์ใหม่ คือ พญาแม่กุ ส่วนพระเจ้าทองทิพย์ที่ศรีถ้อยก็ถูกผู้คนหลงลืมไป

เวลาผ่านไปหลายร้อยปี ในปีขาล ราว พ.ศ.2368 ครูบายาโณพร้อมด้วยอุบาสกสามคน คือ ท้าวสงคราม แสนขวาง หมื่นขันธ์ ได้ลงขันกันสร้างวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทองทิพย์ท่ามกลางป่านั้น และได้บอกเล่าให้ประชาชนรู้ถึงความศักดิ์สิทธิ์ของพระเจ้าทองทิพย์ ประชาชนเกิดความเลื่อมใสเคารพนับถือกันมาจนถือเป็นประเพณีสักการบูชาประจำปี

ต่อมาในปี พ.ศ 2397 ท่านครูบายะ ครูบาถา ครูบาพรหมตลอดถึงเจ้าธรรมลังกา (เจ้าหลวงเมืองเชียงราย) และพระยาไชยวงค์ผู้รักษาเมืองหนองขวาง (อำเภอแม่สรวยปัจจุบัน) ได้เป็นประธานโดยการนำราษฎรมาช่วยกันบูรณะ วิหารเป็นที่ประดิษฐานของพระเจ้าทองทิพย์ ครั้นถึงพ.ศ. 2461 เจ้าดารารัศมีและเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครอง นครเชียงใหม่ ได้ทำการสักการบูชาพระเจ้าทองทิพย์และมาพักแรมอยู่ที่นั้นหลายคืนเห็นว่าวิหารนั้นชำรุดมากจึงแนะนำให้ครูบาชัยวุติวชิรปัญญาพร้อมด้วยคณะสงฆ์และคณะศรัทธาช่วยกันบูรณะวิหารจนเสร็จในปีนั้น


ประวัติพระเจ้าตองติ๊บในวัดเขต อ.แม่สรวย และ อ.เวียงป่าเป้า

องค์พระเจ้าทองทิพย์ที่ประดิษฐานอยู่ตามวัดต่างๆในเขตอำเภอแม่สรวยและเวียงป่าเป้า เหตุที่เรียกว่า พระเจ้าทองทิพย์เนื่องจากได้นำ พระพุทธรูปจาก วัดพระเจ้าทองทิพย์ไปสักกาบูชา จึงเรียกชื่อตามพระเจ้าทองทิพย์

"องค์จริงดั้งเดิมยังคงประดิษฐานอยู่ที่วัดพระเจ้าทองทิพย์จนถึงปัจจุบัน"
ลักษณะของพระเจ้าทองทิพย์ อยู่ในปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 80 ซม. สูง 120 ซม.

พระคาถาบูชาพระเจ้าทองทิพย์
ตั้งนะโม 3 จบ


ยัง วะระคุณะ สัมปันนัง ทิพพะ สุวรรณัง พุทธะปะฏิมา ฆะรัง ตัง สิระสา นะมามิ เอเตนะ สักกาเรนะมัยหัง สะทา โตถิ โหน ตุ ขิปปัง เม ตัสสานุภาเวนะ สัพพะ ธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตูติ ฯ
ข้าพเจ้าขอน้อมบูชาพระเจ้าทองทิพย์ ที่ศักดิ์สิทธิ์ด้วยเศียรเกล้า ด้วยอานุภาพแห่งการน้อมบูชานี้ ขออำนาจคุณพระเจ้าทองทิพย์ จงอำนวยอวยพรและปกปักรักษาข้าพเจ้าให้มีความสุข ความเจริญ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยทั้งปวง ปรารถนาสิ่งใดให้สำเร็จทุกประการเทอญ

ขอบคุณครับ
แล้วบ่าได่จะถึงคิวบ้าบผม  ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
ดัน ดัน
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #16 เมื่อ: วันที่ 21 เมษายน 2011, 23:01:36 »

เฮามาเริ่มกั๋นตี้ประวัติบ้านโต้งม่านก่อนเนาะ
ตะก่อนปื้นตี้บ้านโต้งม่าน เกยเป๋นตี้อยู่ของหมู่ม่าน (พม่า) ก่อนจะฮ้างไป
ต่อมา วันตี้ 12 ก.พ. 2436 จาวบ้านจาวลำปางได้อพยพมาตั้งหมู่บ้านตี้โต้งม่านนี้
ลุกตางวังเหนือ เมืองปาน มากั๋นหลายหมู่ ตวยญาติปี้น้องกั๋นมา
หลังตั้งหมู่บ้าน 33 ปี๋ จาวบ้านโต้งม่านก็ได้ฮ่วมกั๋นแป๋งวัดศรีบุญโยง หรือ วัดบุญโยง
โดยวัดศรีบุญโยงแป๋ง พ.ศ.2469

ประเด็นคือ พระเจ้าตองติ๊บเปิ้นลุกตางใดมา
ข้อสันนิษฐานในต๋อนนี้ เทียบเคียงกับพระเจ้าตองติ๊บวัดอื่นๆ
1. เป๋นพระตี้เอาลุกวัดพระเจ้าตองติ๊บ ต.ศรีถ้อย หรือวัดอื่น มา
2. จาวบ้านโต้งม่านเปิ้นขุดปะ เหมือนพระเจ้าตองติ๊บ วัดจ๋ำทราบมูล ต.ปงยางคก ลำปาง
3. เป๋นพระสำคัญตี้คนใหญ่คนโตเปิ้นมาแป๋งไว้ตะก่อนเหมือนพระเจ้าตองติ๊บ วัดสวนต๋าน เมืองน่าน
4. เป๋นพระเจ้าตี้มีคนเอามาซ่อนไว้แล้วจาวบ้านไปปะอย่างพระเจ้าตองติ๊บ วัดศรีสุพรรณ ต.แม่ใจ๋ พะเยา
5. อื่นๆ


เรื่องพระเจ้าตองติ๊บ บ้านโต้งม่าน ประวัติบ่ชัดอย่างพระเจ้าตองติ๊บวัดอื่นๆน่อ
แต่ถ้าได้ลงปื้นตี้ หาข้อมูล กึดว่าน่าจะกระจ่างกว่านี้
ว่าแต่... คุณ k.ding อยู่ในปื้นตี้ ก่อครับ


* 001.jpg (268.68 KB, 894x589 - ดู 284 ครั้ง.)
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 21 เมษายน 2011, 23:30:53 โดย เชียงรายพันธุ์แท้ » IP : บันทึกการเข้า
ลูกหล้าแม่อุ้ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 332



« ตอบ #17 เมื่อ: วันที่ 23 เมษายน 2011, 14:42:15 »

เฮามาเริ่มกั๋นตี้ประวัติบ้านโต้งม่านก่อนเนาะ
ตะก่อนปื้นตี้บ้านโต้งม่าน เกยเป๋นตี้อยู่ของหมู่ม่าน (พม่า) ก่อนจะฮ้างไป
ต่อมา วันตี้ 12 ก.พ. 2436 จาวบ้านจาวลำปางได้อพยพมาตั้งหมู่บ้านตี้โต้งม่านนี้
ลุกตางวังเหนือ เมืองปาน มากั๋นหลายหมู่ ตวยญาติปี้น้องกั๋นมา
หลังตั้งหมู่บ้าน 33 ปี๋ จาวบ้านโต้งม่านก็ได้ฮ่วมกั๋นแป๋งวัดศรีบุญโยง หรือ วัดบุญโยง
โดยวัดศรีบุญโยงแป๋ง พ.ศ.2469

ประเด็นคือ พระเจ้าตองติ๊บเปิ้นลุกตางใดมา
ข้อสันนิษฐานในต๋อนนี้ เทียบเคียงกับพระเจ้าตองติ๊บวัดอื่นๆ
1. เป๋นพระตี้เอาลุกวัดพระเจ้าตองติ๊บ ต.ศรีถ้อย หรือวัดอื่น มา
2. จาวบ้านโต้งม่านเปิ้นขุดปะ เหมือนพระเจ้าตองติ๊บ วัดจ๋ำทราบมูล ต.ปงยางคก ลำปาง
3. เป๋นพระสำคัญตี้คนใหญ่คนโตเปิ้นมาแป๋งไว้ตะก่อนเหมือนพระเจ้าตองติ๊บ วัดสวนต๋าน เมืองน่าน
4. เป๋นพระเจ้าตี้มีคนเอามาซ่อนไว้แล้วจาวบ้านไปปะอย่างพระเจ้าตองติ๊บ วัดศรีสุพรรณ ต.แม่ใจ๋ พะเยา
5. อื่นๆ


เรื่องพระเจ้าตองติ๊บ บ้านโต้งม่าน ประวัติบ่ชัดอย่างพระเจ้าตองติ๊บวัดอื่นๆน่อ
แต่ถ้าได้ลงปื้นตี้ หาข้อมูล กึดว่าน่าจะกระจ่างกว่านี้
ว่าแต่... คุณ k.ding อยู่ในปื้นตี้ ก่อครับ
ขอบคุณคับแค่นี้ผมกะดีใจ๋แล้วละคับ อ้ายเชียงรายพันธุ์แท้ ผมเปิ๋นคนต๋งม่านโดยกำเนิดคับ แต่ป๋ออุ๋ย แม่อุ๋ยเป๋นคนแม่สุก แจ๋ห่มคับ  บ่าเดียวผมหยะก๋านตี่กุงเทบคับอ้าย
IP : บันทึกการเข้า
หน้า: [1] พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

 
เรื่องที่น่าสนใจ
 

ข้อความที่ท่านได้อ่านบนกระดานข่าวแห่งนี้ เกิดขึ้นจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแลเว็บไซต์แห่งนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
และไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศีลธรรม พาดพิง ละเมิดสิทธิบุคคอื่น ต้องการแจ้งลบ
กรุณาส่งลิงค์มาที่
เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกให้ทันที..."

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2013, Simple Machines
www.chiangraifocus.com

Valid XHTML 1.0! Valid CSS!