เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
วันที่ 29 มีนาคม 2024, 22:05:28
หน้าแรก ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก



  • ข้อมูลหลักเว็บไซต์
  • เชียงรายวันนี้
  • ท่องเที่ยว-โพสรูป
  • ตลาดซื้อขายสินค้า
  • ธุรกิจบริการ
  • บอร์ดกลุ่มชมรม
  • อัพเดทกระทู้ล่าสุด
  • อื่นๆ

ประกาศ !! กรุณาอ่านเพื่อทำความเข้าใจ : https://forums.chiangraifocus.com/index.php?topic=1025412.0

+  เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
|-+  ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย
| |-+  คุยเรื่องไอที - เทคโนโลยี (ผู้ดูแล: K€nGja1, chiohoh, nuifish, NOtis)
| | |-+  เพิ่มความแรง สัญญาณ wireless แบบง่าย โดยการย้าũ
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: 1 2 3 [4] พิมพ์
ผู้เขียน เพิ่มความแรง สัญญาณ wireless แบบง่าย โดยการย้าũ  (อ่าน 78871 ครั้ง)
G-next
เตรียมอนุบาล
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 29


« ตอบ #60 เมื่อ: วันที่ 21 กรกฎาคม 2013, 14:39:11 »

ขอบคุณครับสำหรับความรู้ ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า
RazeR
สมาชิกลงทะเบียน
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 122



« ตอบ #61 เมื่อ: วันที่ 21 มกราคม 2015, 00:15:33 »

กระทู้แรงข้ามปีเลย
ความเห็นผมนะ ถ้าใช้จาน ตะแกรง กะละมัง ฯลฯ มารับสัญญาณ
มันน่าจะช่วยได้ในสัญญาณรับ แต่สัญญาณส่งไม่น่าจะมีผลมากนัก
คือคิดเหมือนจานดาวเทียม คือรวมสัญญาณที่อยู่ในอากาศเข้ามา
หาจุดโฟกัส (ตามทฤษฎีพาราโบลา)  แต่ตอนขาออกนี่สิ ตามหลัก
มันควรจะกระจายสัญญาณจากจุดโฟกัส สะท้อนผิวจาน กะละมัง ฯลฯ
ออกไปในแนวขนาน แต่คลื่นมันเคลื่อนที่ไปได้ทุกทิศทางเน้อ ดังนั้น
มันน่าจะกระจายหายไปมากกว่าจะรวมตัวเป็นลำแสงพุ่งไปยังเราเตอร์
และในการรับ-ส่งสัญญาณที่ดีต้องแรงทั้งเราเตอร์และไคลเอ็นท์
ผมก็เลยคิดว่าวิธีนี้น่าจะไม่เวิร์คน่ะ

ส่วนเรื่องความถี่ และโหมด n g นั้นมีผลโดยตรง ถึงแม้จะใช้ความถี่เดียวกัน
(พูดถึงกรณี 2.4GHz)  ซึ่งเวลาส่ง-รับข้อมูลจะต้องมีการผสมคลื่น (modulation)
กะถอดข้อมูล (demodulation)  ในกรณี n จะมีการใส่ข้อมูลเข้าไป
มากกว่า g ในเวลาที่เท่ากัน (หรือมองเป็น 1 ลูกคลื่นก็ได้) ซึ่งทำให้ความ
หนาแน่นของข้อมูลมีมากกว่า แต่ก็เสี่ยงต่อเสถียรภาพของข้อมูล ถึงแม้ว่า
จะมีรูปแบบการ mod ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นก็เถอะ แต่นั่นก็แค่วิธีการ
แต่ในความเป็นจริง สภาพแวดล้อมที่ส่งข้อมูลออกไป มันมีตัวแปรมากมาย
ทำให้ loss ของข้อมูลมีเยอะ   แต่ในขณะเดียวกันก็แลกกับความสามารถ
ในการพกพาข้อมูลมาได้เยอะกว่าแบบ g ด้วย

จะให้เปรียบเทียบง่าย ๆ ก็เหมือนรถมอเตอร์ไซค์คันนึง
แบบ n ให้ซ้อน 4 คน
แบบ g ให้ซ้อน 2 คน
แบบ n ดูจะรอดยากใช่ไหม แต่ถ้ารอดมาได้ ก็ได้คนตั้ง 4 คน หรือโชคร้าย
หน่อยหล่นกลางทางก็ได้มา 3 คน แต่ก็ยังมากกว่าแบบ g อยู่ดี  แต่ใน
ขณะเดียวกัน แบบ g ก็คล่องตัวกว่านะ

ใครอยากรู้เพิ่มลองหาอ่านทฤษฎีไฟฟ้าสื่อสารดูเรื่องการมอดูเลชั่น
อ้าว ใช้วิธีเหมือนกันงั้นซื้อเราเตอร์ยี่ห้อไหนก็ได้?  ก็ไม่เชิงนะ คือมีวิธี
การเหมือนๆ กัน แต่ต่างกันที่ใครออกแบบวงจรให้มีความเสถียรได้
มากกว่ากัน รับ-ส่งข้อมูลได้พลาดน้อยที่สุด อันนั้นแหละดีสุด
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 21 มกราคม 2015, 00:49:31 โดย RazeR » IP : บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 [4] พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

 
เรื่องที่น่าสนใจ
 

ข้อความที่ท่านได้อ่านบนกระดานข่าวแห่งนี้ เกิดขึ้นจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแลเว็บไซต์แห่งนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
และไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศีลธรรม พาดพิง ละเมิดสิทธิบุคคอื่น ต้องการแจ้งลบ
กรุณาส่งลิงค์มาที่
เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกให้ทันที..."

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2013, Simple Machines
www.chiangraifocus.com

Valid XHTML 1.0! Valid CSS!