เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
วันที่ 20 เมษายน 2024, 06:59:38
หน้าแรก ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก



  • ข้อมูลหลักเว็บไซต์
  • เชียงรายวันนี้
  • ท่องเที่ยว-โพสรูป
  • ตลาดซื้อขายสินค้า
  • ธุรกิจบริการ
  • บอร์ดกลุ่มชมรม
  • อัพเดทกระทู้ล่าสุด
  • อื่นๆ

ประกาศ !! กรุณาอ่านเพื่อทำความเข้าใจ : https://forums.chiangraifocus.com/index.php?topic=1025412.0

+  เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
|-+  ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย
| |-+  การเกษตร,ฟาร์มสัตว์,ปศุสัตว์ (ผู้ดูแล: bm farm)
| | |-+  หอยเชอรรี่ Golden Apple Snail
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: [1] พิมพ์
ผู้เขียน หอยเชอรรี่ Golden Apple Snail  (อ่าน 7594 ครั้ง)
artfactory
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 708



« เมื่อ: วันที่ 22 สิงหาคม 2011, 12:43:29 »




พอดีช่วงนี้ศึกษาเรื่องวิธีควบคุมหอยเชอรรี่ เนื่องจากว่า
นาที่บ้านได้โดนทำลายไปมาก
และได้รับแรงยุให้ทำการศึกษา



ผมก็ได้ทำการค้นคว้าในเน็ต ก็ได้หลักการง่ายๆ จึงมาแบ่งปันกัน

1. ควบคุมระดับน้ำ  - แต่บ้านเราเป็นระบบชลประทาน ที่ไม่ค่อยสมบูรณ์ การควบคุมน้ำจึงทำได้ยาก     
2. การกำจัดไ่ม่ให้หอยเข้านา  -  ก่อนไถนา ก็กำจัด  แต่ถ้าโดนน้ำหลาก ก็หมดสิทธิ
3. การใช้ศัตรูธรรมชาติ เช่นเป็ด - ก็หมดสิทธิเมื่อข้าวโต
4. การกำจัดหอย   ---> เป็นทางเลือกสุดท้ายที่พวกเราทำได้

   ที่มีวางขายทั่วไปก็พวก นิโคซัลไม (อ พาน)ราคาประมาณ 150 บาท /100 g
                             เมตัลดีไฮน์  (อันนี้มีพิษต่อพอสมควร) แต่ถ้าข้าวโต ก็ใช้ยากหน่อยเพราะเป็นยาเบื่อหอย
                             กากชา  เท่าที่ลองใช้ กากชาแทบไม่ได้ผล หากมีระดับน้ำในนาสูง  (ความเข้มข้นต่ำ) และแพง สลายตัวเร็ว

 ฯลฯ  เท่าที่พอค้นได้ในเน็ต และ พวกพี่ๆในเวปชรฟก แนะนำ

วิธีกลพวก มือเก็บผมก็ว่ามันทำได้คือควบคุมเท่านั้น

และจากการที่ต้องกำจัดหอยตลอดเวลา จึงเป็นภาระและค่าใช้จ่าย
ของพี่น้องเกษตรกร 

ผมจึงได้ไอเดีย ที่จะนำเข้าสารเคมีเหล่านี้มาเพื่อจำหน่าย (จากต่างประเทศ)
และในขณะเดียวกันได้ทำการศึกษา วิธีอื่นๆ



พบว่า  นอกจากในเมืองไทย
ยังพบว่าระบาดในหลายประเทศ เช่น ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน เวียดนาม อเมริกา ฯลฯ
พวก กายภาพ ทั่วไปของหอยเชอรี่ เราคงไ่ม่ต้องอธิบายแล้ว
แต่ที่จะบอกข้อมูลของหอยเชอรี่คือ

รูปวงจรชีวิตเค้าครับ



[ต่อ]
IP : บันทึกการเข้า

0888-4888-35
artfactory
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 708



« ตอบ #1 เมื่อ: วันที่ 22 สิงหาคม 2011, 12:59:08 »

ผมไปค้นเจอเอกสารของฟิลิปปินส์ ซึ่งบอกรายละเอียดวิธีการป้องกันหอยได้ค่อนข้างละเอียด ดังนี้ครับ
    * Before the final harrowing, handpick golden apple snails from rice paddies in the morning and afternoon when they are most active and easy to find.

    ก่อนที่จะทำการไถ(ปั่น) ให้ทำการเก็บหอยก่อน 

    * Use plants that contain toxic substances against golden apple snails. Examples are gugo (bark) [Entada phaseikaudes K Meer], tubangkamisa (leaves), sambong (leaves) [Blumea balsamifera], tuba-tuba (leaves), gabihan (leaves) [Monochoria vaginalis], tobacco (leaves) [Nicotiana tabacum L], calamansi (leaves) [Citrus microcarpa Bunge], tubli (roots), makabuhay (leaves) [Tinospora rumphii Boerl], and red pepper (fruit).

    ใช้พืชที่มีพิษ ต่อหอย ก็มีหลายๆตัวครับ ลองแปลๆดูนะครับ

    * Other reported plants include starflower (leaves) [Calatropis giganta], neem tree (leaves) [Azadirachta indica], and asyang [Mikania cordata] contain substances that can kill golden apple snails. These are highly recommended before transplanting rice. Simply construct small canals to confine the golden apple snalts and right there place the leaves of the said plants.
      พืชเหล่านี้ มีรายงานว่า สามารถกำจัดหอยได้ ว่างๆจะลองหารูป(โพสต์ไปก่อน)

    * Use attractants such as leaves of gabi [Colocasia esculenta], banana [Musa paradisiaca L.], papaya [Carica papaya L.], trumpet flower, and old newspapers for easy collection of golden apple snails.
      ใช้ใบที่หอยชอบเช่น มะละกอ กล้วย หรือหนังสือพิมพ์เก่าในการเก็บหอย (ใช้ยังไง-คาดว่าปูพื้นดินให้สีมันแตกต่างกับโคลน)

    * During the last harrowing, construct deep strips (at Least 25 cm wide and 5 cm deep) in the paddies by pulling a sack containing a heavy object. Provide 10- 15 m distance between strips. Likewise, construct small canals (25 cm wide and 5 cm deep) along the edges of rice paddies.

      เมื่อทำการปั่นให้ทำ ร่อง กว้างประมาณ 25 cm ลึก 5 cm โดยการกดให้เป็นรองช่วงห่างแต่ละร่อง ประมาณ 10-15 เมตร  เพื่อทำให้เป็นร่องสำหรับดักให้หอยมาอยู่ในร่องนี้
และทำข้างๆคันนาด้วย  ตามรูป

Place a wire or woven bamboo screen on the main irrigation water inlet and outlet to prevent the entry of hatchlings and adults. This also facilitates collection of trapped golden apple snails.

 ใ้ห้ทำตะแกรง กันหอยเข้านา เมื่อปล่อยน้ำเข้า-ออก นา



    * If golden apple snail is a big problem, transplant 25-30-day-old seedlings of early-maturing varieties. In the rice areas of the Cordillera highlands, use 30-35-day-old seedlings of late-maturing varieties.

        ให้ปลูกข้าวเมื่ออายุมากๆ (ต้นแก่)

    * Put bamboo stakes on water-logged areas in the paddies or near canals to attract adults for egg laying. This makes collection and crushing of the egg masses easy.

     ใช้ไม้ไผ่ ปักตามแนวคันนา เืพื่อให้หอยวางไข่ เพื่อง่ายต่อการเก็บ

    * Maintain shatlow paddy water level (2-3 cm shallow) starting 3 days after transplanting.

    รักษาระดับน้ำในนาให้น้อยๆ 2-3 cm ช่วง 3 วันแรกของการดำ

    * Drain the field occasionally to limit snail mobility and feeding activity.

  ปล่อยน้ำออกนา เพื่อควบคุมการแพร่ของหอย



    * Collect, cook, then eat the golden apple snails, or crush and feed them to ducks and pigs. Collection is easier by using attractants such as leaves of gabi, papaya, and trumpet flower.

  เก็บหอยไปทำลาย  ด้วยใช้ใบมะละกอ



IP : บันทึกการเข้า

0888-4888-35
artfactory
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 708



« ตอบ #2 เมื่อ: วันที่ 22 สิงหาคม 2011, 13:10:22 »

The fire ant as biological control agent?
Can the fire ant be use as a biological method to control Pomacea canaliculata populations in the Asian rice fields? The observation that the fire ant Solenopsis geminata predates on the eggs of the apple snail Pomacea canaliculata suggest a possible use of this ant as a biological agent. However, cautions should be taken in this approach as the fire ant can become a pest itself.


   ก็ได้มีงานวิจัยพบว่า  มดแดง(บางพันธ์) สามารถทำลายไข่หอยเชอรี่ได้ แต่คาดว่าคงมีัปัญหาเมื่อมาใช้งานกับนาข้าว เนื่องจาก นาข้าวเป็นน้ำ แต่มีประโยชน์กับการป้องกันหอยในท้องที่อื่นๆ ที่มีน้ำขึ้นน้ำลง





รูปแสดงว่าหอยเชอรี่ระบาดในภูมิภาคนี้ เมื่อปีเท่าไหร่ (มีรายงาน)


ตอนนี้คงเข้าระบาดในอินเดียเรียบร้อยแล้ว

ส่วนนี่คือรายชื่อสัตว์ในธรรมชาติที่เป็นศัตรูกับหอยเชอรี่ครับ
Insects (แมลง)


    * Sciomyzidae sp.  Sciomyzidae แมลงวันหน้าแหลม (marsh flies)



    * Odonata sp. แมลงปอ
    * Belostomidae sp. (water bugs)  แมงดา
    * Dysticidae sp. แมงกรรเชียง
    * Lampyridae sp. (fire flies)  หิงห้อย
    * Hydrophilidae sp.
    * Solenopsis geminata มดแดง
    * other insects

Fishes  ปลาต่างๆ

    * Lepomis macrochirus (sunfish)
    * Botia sp. (clown loaches)
    * Tetraodon sp. (puffers)
    * Bunocephalus sp. and  Leiocassis sp. (catfish)
    * various cichlids (Pseudotropheus sp., Melanochromis sp., Cichlasoma sp., Aequidens sp. and others)
    * various Gourami's (Osphronemus sp., Trichogaster sp. and others)
    * some Betta splendens (Betta Fish)
    * Mylopharyngodon piceus (Chinese carp)
    * other fish

Amphibians

    * Rana pipiens (leopard frog)
    * various salamanders

Crocodilians

    * Alligator sp.
    * Crocodylus sp.
    * Paleosuchus sp.
    * Caiman sp.

Reptiles

    * Dracaena guianensis (Caiman lizard)

Snakes

    * Natrix sp.
    * other snakes

Crayfishes

    * Procambarus sp.
    * other crustacea

Turtles

    * Sternotherus sp.
    * Kinosternon sp.
    * Pseudemys sp.
    * Trionyx sp.
    * Podocnemis sp.
    * Malaclemys sp.
    * Gopherus sp.
    * other turtles

Mammals

    * Oryzomys palustris (rice rat)
    * Neofiber alleni (water rat)
    * other mammals

Birds

    * Rostrhamus sociabilis (everglade kite)
    * Aramus guarauna (limpkins)
    * Lassidic mexicanus (boat-tailed grackles)
    * Anastomus lamelligenus (open-bill stork)
    * various ducks
    * other birds
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 22 สิงหาคม 2011, 13:16:23 โดย artfactory » IP : บันทึกการเข้า

0888-4888-35
artfactory
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 708



« ตอบ #3 เมื่อ: วันที่ 22 สิงหาคม 2011, 13:25:50 »

มีอยู่เรื่องนึงที่ผมคิดว่า ท่านก็คงสงสัยครับ
คือทำไมไข่หอยเชอรี่ จึงมีชมพู แล้วมีพิษหรือไม่

Don’t eat me!

อย่ากินฉัน  !!! เป็นสิ่งที่ หอยกำลังส่งสัญญาน "หลอกหรือไม่" ให้ สัตว์อื่นๆกลัวนะครับ

สีนี้เกิดจากโปรตีน ovorubin,มีส่วนผสมของ  carotenoid pigments.  ไอ้ตัวนี้ก็เป็นสารที่มีอยู่มากใน แครอท และส้มนี่เองครับ  มีผลนับว่าน่าสนใจมาก เพราะมักจะเอาไปใช้ในแวดวง อาหารและเครื่องสำอาง คือ ป้องกันผิวแห้ง จากแสงแดด และรังสีจากดวงอาทิตย์นั่นเองครับ และเมื่อไปทดลองก็พบว่า สารเหล่านี้ป้องกัน แบคทีเรีย Escherichia coli Salmonella ได้นั่นเองครับ


วิธีการทางเคมีของ
โปรตีน ovorubin คือจะบล็อค เอนไซม์ ที่ย่อยโปรตีน ทำให้สัตว์กินเข้าไป จะย่อยโปรตีนไม่ได้ แล้วทำให้ไม่อยากกิน โดยเฉพาะ เมื่อศัตรูอย่างหนู กินเข้าไป ทำให้เจริญเติบโตช้าลง

สิ่งเหล่านี้ ทำให้ีมีเฉพาะ มดแดงเท่านั้นที่ทำลายไข่ของหอยเชอรี่ได้
IP : บันทึกการเข้า

0888-4888-35
kaewhilow
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,172


« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 30 สิงหาคม 2011, 08:20:16 »

เอาเชอรี่(เป็ด) ปราบเชอรี(หอย) กำลังศึกษาความเป็นไปได้อยู่
http://www.youtube.com/watch?v=H4LI5FRmL6w&feature=player_embedded
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 10 กันยายน 2011, 15:55:17 โดย kaewhilow » IP : บันทึกการเข้า
kaewhilow
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,172


« ตอบ #5 เมื่อ: วันที่ 10 กันยายน 2011, 15:57:06 »

http://www.youtube.com/watch?v=gKuAPx5xBmQ&feature=player_embedded
ไม่เหลือแน่คราวนี้
IP : บันทึกการเข้า
Ck 401
"....เมื่อเห็นทุกสิ่งเป็นธรรมดา ก็ไม่มีอะไรมาทำให้ทุกข์ได้อีก...."
แฟนพันธ์แท้
*
ออนไลน์ ออนไลน์

กระทู้: 5,267


...งานหนักไม่เคยฆ่าคน...


« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 10 กันยายน 2011, 19:50:14 »

มีอยู่เรื่องนึงที่ผมคิดว่า ท่านก็คงสงสัยครับ
คือทำไมไข่หอยเชอรี่ จึงมีชมพู แล้วมีพิษหรือไม่

Don’t eat me!

อย่ากินฉัน  !!! เป็นสิ่งที่ หอยกำลังส่งสัญญาน "หลอกหรือไม่" ให้ สัตว์อื่นๆกลัวนะครับ

สีนี้เกิดจากโปรตีน ovorubin,มีส่วนผสมของ  carotenoid pigments.  ไอ้ตัวนี้ก็เป็นสารที่มีอยู่มากใน แครอท และส้มนี่เองครับ  มีผลนับว่าน่าสนใจมาก เพราะมักจะเอาไปใช้ในแวดวง อาหารและเครื่องสำอาง คือ ป้องกันผิวแห้ง จากแสงแดด และรังสีจากดวงอาทิตย์นั่นเองครับ และเมื่อไปทดลองก็พบว่า สารเหล่านี้ป้องกัน แบคทีเรีย Escherichia coli Salmonella ได้นั่นเองครับ


วิธีการทางเคมีของ
โปรตีน ovorubin คือจะบล็อค เอนไซม์ ที่ย่อยโปรตีน ทำให้สัตว์กินเข้าไป จะย่อยโปรตีนไม่ได้ แล้วทำให้ไม่อยากกิน โดยเฉพาะ เมื่อศัตรูอย่างหนู กินเข้าไป ทำให้เจริญเติบโตช้าลง

สิ่งเหล่านี้ ทำให้ีมีเฉพาะ มดแดงเท่านั้นที่ทำลายไข่ของหอยเชอรี่ได้
เป็ดไล่ทุ่ง ที่ทางภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางที่เลี้ยงไว้เก็บกินของตกหล่นในนา เช่นเมล็ดข้าว
แมลงต่างๆ
ยังไม่แตะต้องไข่หอยเลยครับ ทั้งที่นิสัยเป็ดกินทุกอย่าง
IP : บันทึกการเข้า

"....คณะเรา ไม่ยอมให้ด้อยถอยลง ต่ำเราต้องค้ำชูให้สูงจรุงศรี....."
....เมื่อเห็นทุกสิ่งเป็นธรรมดา  ก็ไม่มีอะไรมาทำให้ทุกข์ได้อีก...."
jaroen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 425


« ตอบ #7 เมื่อ: วันที่ 11 กันยายน 2011, 00:22:45 »

ส่วนผม กากชา 1 ไร่ 1 กระสอบหว่านก่อนปลูก ปลูกแล้วปล่อยน้ำให้แห้งสัก5วัน ให้หอยมารวมกันที่มีน้ำเหลือในนา แล้วก็เก็บครับ และใช้ยาอาหารเม็ด และหว่านกากชาอีกทีหนึ่ง ตายเกือบหมดครับ แต่นาเราจะมีหญ้ามาแทน ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า
kaewhilow
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,172


« ตอบ #8 เมื่อ: วันที่ 11 กันยายน 2011, 19:40:08 »

 กากชาใช้แล้วสู้มันไม่ไหว ผมใช้หลายวิธีมาก ทั้งใช้กากชา ใช้เหยื่อล่อแล้วเก็บ ถ้าเป็นที่นาไม่กว้างก็คงไม่มีปัหา อย่างถ้า 10 ไร่ แค่ใช้เหยื่อล่อแล้วเก็บไปขายก็พอทำได้ นาบางแปลงผมปลูกซ้ำ 3 รอบก็มี แต่พอมาศึกษาเรื่องเป็ดแล้ว ผมว่ามัยใช้ได้เลย แถมขายไข่อีก ผมขอนำร่องฤดูหน้าเลย แต่คงต้องเลี้ยงหลายพันตัว ไว้ได้ผลแล้วจะเชิญชวนพี่น้องไปดูครับ
IP : บันทึกการเข้า
หน้า: [1] พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

 
เรื่องที่น่าสนใจ
 

ข้อความที่ท่านได้อ่านบนกระดานข่าวแห่งนี้ เกิดขึ้นจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแลเว็บไซต์แห่งนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
และไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศีลธรรม พาดพิง ละเมิดสิทธิบุคคอื่น ต้องการแจ้งลบ
กรุณาส่งลิงค์มาที่
เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกให้ทันที..."

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2013, Simple Machines
www.chiangraifocus.com

Valid XHTML 1.0! Valid CSS!