เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย

ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย => เรื่องล้านนา ภาษากำเมือง => ข้อความที่เริ่มโดย: apiwattano ที่ วันที่ 31 มกราคม 2014, 18:19:03



หัวข้อ: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 31 มกราคม 2014, 18:19:03
ไม่ปรากฎนามผู้แต่ง   อ่านตามเนื้อหา น่าจะเป็นของพระยาพรหมโวหาร   ....ความเห็นของผมเท่านั้น
แต่งไว้ ๒ บทใหญ่ มีบทย่อยรวม ๙๖  บท
ไว้โอกาสต่อไป   จะได้ลงบมที่ ๑ และ ๒ จนครบ
ข่วงนี้มีข้อมูลใหม่  ขอขยายความเรื่อง ค่าวหรือคร่าวก่อนนะครับ



หัวข้อ: Re: วรรณกรรมล้านนา " ค่าวอุ๋ทาหอร "
เริ่มหัวข้อโดย: WH_Y ที่ วันที่ 31 มกราคม 2014, 20:43:09
..สรียินดีเจ้าสำหรับวรรณกรรม ค่าวอุทาหรณ์..สำนวนแต่เก่าเมินมาอ่านแล้วก็มีความไพเราะจับใจในตัวค่าวเนาะเจ้า.. :D


หัวข้อ: Re: วรรณกรรมล้านนา " ค่าวอุ๋ทาหอร "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 31 มกราคม 2014, 20:52:25
ขอบพระคุณครับ

อภิวัฒโน  ๓๑๐๑๒๕๕๗

ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ

       ค้นคว้าจากบทความของท่านผู้รู้หลายท่าน  (จะได้กล่าวนามเพื่อขอบพระคุณช่วงท้าย)
       เจตนาเพื่อให้ท่านที่ยังไม่รู้ได้ทราบ  สิ่งที่ผมรู้ท่านอาจไม่รู้และสิ่งที่ท่านรู้ผมอาจไม่รู้
       วรรณกรรมค่าวหรือคร่าวซอที่ปรากฏอยู่ในวงการ(เหมือนวงการพระเครื่องเนาะ)ปัจจุบันมีดังนี้ครับ
๑.  หงส์หิน
๒.  เจ้าสุวัตร - นางบัวคำ
๓.  คร่าวฮ่ำนางจม
๔.  สุวรรณหอยสังข์
๕.  อ้ายร้อยขอด
๖.  ช้างโพง นางผมหอม
๗.  วรรณะพราหมณ์
๘.  เจ้าแสงเมืองหลงถ้ำ
๙.  ชิวหาลิ้นคำ
๑๐. สุวรรณะเมกฆะ หมาขนคำ
๑๑. กํ่าก๋าดำ
๑๒. วงศ์สวรรค์
๑๓. ช้างงาเดียว
๑๔. นกกระจาบ
๑๕. ปลาตะเพียนทอง
๑๖. จันทะฆา
๑๗. บัวระวงศ์หงส์อำมาตย์
๑๘. นางอุทธะรา
๑๙. บัวระวงศ์ไกรสร
๒๐. กำพร้าบัวตอง
๒๑. เจ้าสุธน
๒๒. สุทธนู
๒๓. นางสิบสอง
๒๔. จำปาสี่ต้น
๒๕. โปราบ่าวน้อย
๒๖. จุจะวรรณะ
๒๗. จันทประโชติ
๒๘. พระอภัยมณี
๒๙. สุวรรณหงส์ทองคำ
๓๐. สังข์สินธนูไชย
๓๑. ค่าวอุทธาหรณ์
๓๒. ค่าวเจ้าโสทะนาและนางปฐวี
๓๓. เจ้าลาภะ
      ฯลฯ
ที่ผมมีอยู่  ประมาณ ๑๒ เรื่อง  มีทั้งภาษาล้านนา  และภาษาไทยกลาง  สมบูรณ์บ้างขาดหายไปบ้าง
ท่านผู้รู้ท่านใดมีเรื่องอื่น ๆ บอกกล่าวกันบ้างนะครับ

ความหมายที่ ๑
   "คร่าว" หรือ คร่าวซอ  เป็นคำประพันธ์ประเภทหนึ่งในห้าประเภทของวรรณกรรมร้อยกรองล้านนาไทย  ซึ่งแบ่งเป็น
๑. คร่าว  แบ่งเป็น  คร่าวธรรม  กับ  คร่าวซอ
๒. กาพย์
๓. ซอหรือเพลงซอ
๔. โคลง
๕. ร่าย
ความหมายที่ ๒
     "คร่าว" คือเรื่องราวที่แต่งขึ้นเพื่อพรรณาเรื่องราวต่างๆ ให้ผู้อ่านผู้ฟังได้รับความเพลิดเพลินใจ  วรรณกรรมคร่าวแบ่งออกเป็น ๔ ประเภทคือ
๑.  คร่าวธรรม หรือธรรมคร่าว  ได้แก่ คัมภีร์ธรรมชาดก  เช่น  ปัญญาสชาดก  เป็นต้น  ซึ่งเป็นคร่าวที่พระสงฆ์นิยมใช้เทศนาให้อุบาสกอุบาสิกาฟัง  ในเทศกาลเข้าพรรษา  หรือในวันธรรมสวนะตลอดพรรษา
๒.  คร่าวซอ เกิดจากการนำเอาคร่าวธรรมหรือชาดกมาแต่งเป็นกลอนคร่าวเพิ่มเติม  เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของชาวบ้านเข้าไปเพื่อให้คนหนุ่มสาวในล้านนาได้อ่านได้ฟังกัน  ทำให้เกิดวรรณกรรมที่สำคัญหลายเรื่อง  เช่น คร่าวหงส์หิน  คร่าวเจ้าสุวัตร ฯลฯ
๓.  คร่าวใช้ หมายถึงจดหมายรักหรือเพลงยาวที่แต่งเป็นฉันทลักษณ์คร่าว  ซึ่งเป็นของชายหนุ่มส่งให้หญิงสาว  แล้วหญิงสาวตอบจดหมายกลับเรียกว่า  คร่าวใช้  คือชดใช้ที่หนุ่มเขียนถึงตน  โดยมากมักไปขอพวกกวีแต่งให้  จึงมีสำนวนไพเราะและกินใจ
๔.  คร่าวร่ำ หรือคร่าวฮ่ำ ได้แก่วรรณกรรมที่แต่งด้วยฉันทลักษณ์คร่าว  พรรณนาเหตุการณ์ทั้งหลายที่กวีได้พบเห็นแล้วนำมาแต่งเป็นการรำพันหรือร่ำพรรณนา  เรียกว่า คร่าวร่ำ

ยังมีต่อ


หัวข้อ: Re: วรรณกรรมล้านนา " ค่าวอุ๋ทาหอร "
เริ่มหัวข้อโดย: tipwara ที่ วันที่ 05 สิงหาคม 2014, 17:11:18
ขอบพระคุณครับ

อภิวัฒโน  ๓๑๐๑๒๕๕๗

ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ

       ค้นคว้าจากบทความของท่านผู้รู้หลายท่าน  (จะได้กล่าวนามเพื่อขอบพระคุณช่วงท้าย)
       เจตนาเพื่อให้ท่านที่ยังไม่รู้ได้ทราบ  สิ่งที่ผมรู้ท่านอาจไม่รู้และสิ่งที่ท่านรู้ผมอาจไม่รู้
       วรรณกรรมค่าวหรือคร่าวซอที่ปรากฏอยู่ในวงการ(เหมือนวงการพระเครื่องเนอะ)ปัจจุบันมีดังนี้ครับ
      
ยังมีต่อ

มีหนังสือค่าว  2 เรื่อง หงส์หินและจันทฆา สามีซื้อมาจากร้านขายสังฆภันฑ์ทึ่เชียงราย
สนใจไหมค่ะ เป็นภาษาไทยนะ


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: chate ที่ วันที่ 06 สิงหาคม 2014, 17:59:18
มาติดตามครับ :D :D


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 07 สิงหาคม 2014, 19:32:03
ต้องขอขอบพระคุณทั้งสองท่านที่สนใจ
ตอบท่าน Tipwara
ที่ท่านมีอยู่ ๒ เรื่อง เป็นภาษาไทย  ของผมมีแล้วครับ
ขอบพระคุณอีกครั้ง หากมีข้อมูลใหม่ก็แจ้งกันมานะครับ
ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: supanee.csd ที่ วันที่ 10 กันยายน 2014, 18:36:21
       สนใจ๋ไค่อ่าน หมาขนคำ
เยี๊ยะจาไดจะได้อ่านเจ้า นร.
ร.ร.สามัคคีฯ เกยแสดงละคร
เรื่อง หมาขนคำ ตี๋บทแตก
หมาฮ้องโหยหวน โศกเศร้า
ไห้กั๋นเกือบไคว้ โฮงละคร
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งชาติ
เมื่อหลายปี๋มาแล้วเจ้า
     ขอบคุณล่วงหน้าเจ้า


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 10 กันยายน 2014, 19:11:09
ลองตามลิ้งค์นี้ดูนะครับ

http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Thanyaphat_Mitsaranphat/Fulltext.pdf

เปิดดูที่หน้า  39 - 40  หวังว่าจะได้ความบ้างนะครับ

สำหรับผมยังชอบแปลจากต้นฉบับที่เป็นภาษาล้านนาอยู่นะครับ  และจะตามหาต่อไป

ขอบพระคุณที่สนใจ


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Jampolo ที่ วันที่ 11 กันยายน 2014, 08:38:53
 ::) ติดตามอ่านอยู่ครับ


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 16 กันยายน 2014, 11:39:01
  ยังหาคร่าวหมาขนคำเวอร์ชั่นตั๋วเมืองไม่ได้
ดูเรื่องเศร้า ๆ ในอดีตกาลอันยาวนานก่อนนะครับ
ก็ตำนานดาวลูกไก่แหละครับ  ล้านนาเรียกไก่น้อยดาววี
แม้จะเขียนว่าคร่าวซอ (แต่เป็นคร่าวซอที่แปลงมาจากคร่าวธรรม)
ผู้ประพันธ์เขีบนเป็นภาษาเขียนไว้ ขออนุญาตเผยแพร่ด้วยการพิมพ์
(เพื่อให้อ่านง่าย) ถอดมาจากต้นฉบับเดิมอาจเขียนไม่ถูกตามล้านนาโบราณแท้ๆ
แต่ก็พออ่านกันได้ครับ   หากจะติชมก็ต้องขออ้างว่าผู้เขียน (ทำไมถึงเขียนคำนี้เช่นนี้)

จะขอเอ่ยนามผู้เขียนทีหลังครับ
(ยังมีต่อ)



หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: tipwara ที่ วันที่ 21 กันยายน 2014, 11:50:22
ต้องขอขอบพระคุณทั้งสองท่านที่สนใจ
ตอบท่าน Tipwara
ที่ท่านมีอยู่ ๒ เรื่อง เป็นภาษาไทย  ของผมมีแล้วครับ
ขอบพระคุณอีกครั้ง หากมีข้อมูลใหม่ก็แจ้งกันมานะครับ
ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ
ไปที่เชียงใหม่เห็นมีค่าวหงส์หิน ภาคภาษาไทยขาย
ที่ร้านประเทืองวิทยา สนใจไหมค่ะ


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 21 กันยายน 2014, 12:47:31
ขอบพระคุณมาก ๆ ครับ
บางทีภาคภาษาไทยก็มีหลายเวอร์ชั่น
ไว้ผมได้ไปวันหลัง จะไปซื้อหามาเก็บไว้


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 12 ตุลาคม 2014, 16:40:24
        (http://image.free.in.th/z/ik/f5144.gif)

     กระทู้นี้ยอดเยี่ยม


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 17 ตุลาคม 2014, 17:28:10
ขออภัยไม่ออนไลน์หลายวัน  ขอบพระคุณที่ให้กำลังใจกัน
ก็มาดูค่าวนี้ให้จบกันก่อนนะครับ
อ่านจบกันแล้วก๊อปไปขยายให้ผู้สนใจก็ไม่น่าผิดอะไร
ร่วมด้วยช่วยกันนะครับ......
...อภิวัฑฒโน...๑๗๑๐๕๗


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 03 ธันวาคม 2014, 18:52:57
ต้องขออภัย
ขอลบข้อมูลเดิมก่อน   มีข้อมูลค่าวชั้นครู
จะนำมาเสนอในวันต่อไป


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 02 กุมภาพันธ์ 2015, 23:33:30
ต้องขออภัย
ขอลบข้อมูลเดิมก่อน   มีข้อมูลค่าวชั้นครู
จะนำมาเสนอในวันต่อไป


เข้ามารออ่านเจ้า  :D



หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 03 กุมภาพันธ์ 2015, 11:08:31
ขอบพระคุณที่สนใจ
เริ่มเลยนะครับ  อยากให้ผู้สนใจเก็บไว้ให้ลูกหลานภายหน้าได้ศึกษา
ถอดความจากต้นฉบับที่เป็นภาษาล้านนา บทประพันธ์ระดับ ๗  ดาว
ของกวีเอกแห่งล้านนา  ท่านพระยาพรหมโวหาร
ค่าวฮ่ำนางจม หรือค่าวสี่บท
บทที่ ๑
(http://upic.me/i/ta/pyp1-01.jpg) (http://upic.me/show/54498967)

(http://upic.me/i/2h/pyp1-02.jpg) (http://upic.me/show/54498919)

(http://upic.me/i/e4/pyp1-03.jpg) (http://upic.me/show/54498921)

(http://upic.me/i/y3/pyp1-04.jpg) (http://upic.me/show/54498924)

(http://upic.me/i/g3/pyp1-05.jpg) (http://upic.me/show/54561168)


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 03 กุมภาพันธ์ 2015, 11:11:03
บทที่ ๑ (ต่อ)



หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 03 กุมภาพันธ์ 2015, 21:24:45

      (http://image.free.in.th/x/i/in/qti13.gif)


อ่านบ่าออกสักตั๋ว



หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 04 กุมภาพันธ์ 2015, 09:22:21
ผมจะทะยอยแปลให้ทีละหน้าตามรูปแบบที่ผมเคยแปล(ตามคำอ่าน)
ไม่ขอปริวรรตอักขระใดๆ ขอยืนตามคำโบราณ หากท่านใดจะนำไปปริวรรตเช่นไร
ก็แล้วแต่สะดวกครับ ถือว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของล้านนาไทยเราที่บรรพบุรุษ
ให้ไว้ ช่วยกันอนุรักษ์และสืบทอดให้ลูกหลานครับ

คำแปล หน้า ๑
                             ค่าวฮ่ำนางจม
                                        บ๋ทตี้  ๑

      ฮอมถนั๋ด       สะอั๋ดโสกฮ้อน      หนักหน่องข้อน    ซะต๊อนอ๋กอิ๋ด
ก้อยฟังเต๊อะน้อง    ตี้ข้องใจ๋ติด      จักบิ๋ดเอาดวง       คะปวงมาส้อม
หลอนวาต๋าเสย      ลมเจย ลวาดต้อม   หอมดวงบาน      ซว่านรศ

      บุ๋ผาเผย       บ่เหยเหือดงด      หอมอ่อนอ้วน      กวรดม
จ๋าเผียบเก๊า       ส่ำเนาก๋อนก๋ม      ปร๋ะสมแต้กเตียม    เฮียมฮิฮ่ำส้าง
ก้อยฟังเต๊อะนาย    แม่ลานปั๋กกว้าง   จ้าตบางต๋ะภาน   แต่เจื๊อ

      บ่ถ้ามีเกื๋อ       หินส้มย้อมเนื้อ      สีหากเข้ม      แดงงาม
บ่เปื๋องมาดเจ๊ด       ดินไฟม่ะขาม      สีหากตืงงาม       แต่ยามอยู่เบ้า
หลอนนายบ่จ๋ำ    เจิญฟังเต๊อะเจ้า      ยังก๋อนส่ำเนา      เรื่องตุ๊กข์

      ลุนหลังนาย       ปี้เมาซวนซุก      ป๋านเป๋ดบ้า      เมาวิน
เข้าแลน้ำ       หล้างคาบลืมกิ๋น   ย่ำเตียวดิน       หวิ๋ดหวาวลุ่มใต้
ทรงต๋นตั๋ว       อยู่ปอบ่ได้      เหมือนหางตุงไจ   จ้อจ๊าง

      ปั๋กแขวนสูง       ภะยุงยกก๊าง      ก๋างเป่งกว้าง      ตอลม
แสนเยื่องตุ๊กข์       หนีบแหน้นแถมถม   กันกึ๊ดไคว่จม       ภมมีแต่ไห้   
จั๋บลางวัน      เยียะเหมือนจั๋กไข้   หนาวเยนใน      นอกฮ้อน

      เกยได้อยู่กิ๋น       ยินดีเซื่อมซ้อน      แฝงใฝ่อ้อม      ปิงปาว
เปิ้นเมาฮักจู๊       เมาบ่าวเมาสาว      ต๋ามเนื่องแนวนาว    เกยแฝงใฝ่เฝ้า
หล้างพ่องเขา       เมายาฝิ่นเหล้า      ปี้นี้เต้า         เมาลม

      กันกึ๊ดฮอดน้อง      แม่ปล้องแขนก๋ม   ปี้เมาลม       งุ้ม งว้าดั่งบ้า
ฟู่จ๋าสัง       ปอลืมหลังหน้า   คอบคัวลืม      ละไว้

      ลวดสูนหาย       บ่คืนได้ใจ๊      ถ้านปุ๋นอั้น      เนอนาย
ใค่ยกย่างย้าย       ไต่ตวยต๋ามสาย   หื้อเถิงเติงนาย       ตี้เมืองแป้ห้อง
ก่ความกั๋ว       เป๋นมัวเมฆต้อง   เหมือนสีจมฟอง   หากฮู้

                                      


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 04 กุมภาพันธ์ 2015, 14:48:31
คำแปล  หน้า ๒

      บ่ใจ้ว่าตั๋ว    ปี้แข้งข๋ดคู้      หากสุ๋ดส่วนเสี้ยง    ปั๋ณญา
จี่งมีปิยะ   วะระก๋ะถา           จ่าเริญมา    เถิงถองฮอดเจ้า
ไขความจิ๋ง    บอกญิงน้องเหน้า   หื้อหันฮายเงา   ถี่แซ้ม

      เป๋นจ๋ดหมาย   นิยายคักแค้ม      เถิงฮอดห้อง   เฮือนนาย
จ๋ะหลอนว่าน้อง  ตี้ข้องใจ๋หมาย   หันเลกลาย   อักษรม่อนแส้ง
ขอเจิญนาย    แม่เข้าสูนแป้ง      สูนวันเดียว   ผ่าน้ำ

      อย่ามีโมโห    โก๋ธาขุ่นจ๊ำ      จ๋งเกี้ยดกล้า   นินตา
เหตุข้าปี้นี้    มีสีเนหา      หลายไนยา    หลายเยื่องหลายข้อ
ขอเจิญนาย   แม่ไหมแภห้อ      ฮับก๋อนกำซอ   ค่าวจ๊อย

      หื้อฝูงขนาน    จาวบ้านธิดน้อย   ไขอ่านถ้อย   ซอยาว
เจิญนุชนาศน้อง   เปื้อนป๊องปิงหนาว   ฟังก๋อนแนวนาว กำตุ๊กข์โสกเส้า
ปุ๋นงืดหัวใจ๋    แม่บัวไหวเหง้า   สังไปเมา   ป้าดปั๊ง

      เอาสุกข์ใส่ตั๋ว    หัวเข้าฮ่มยั้ง      บ่กื๊ดฮอดบั้ง   หัวธี
มาละปี้ไว้    โสกไหม้หมองขวี   หนีคืนมา    บ่จ๋าสั่งถ้อย
ต็อดตุมจาย    ปี้ไว้เสียจ้อย      เหมือนเปื้อนตุมคาย    หมากเกี๊ยว

      ผัวเมียกั๋น    ป๊อยดั้นก๊ดเลี้ยว   บ่เหลียวสั่งข้า   สั๋กกำ
ของน้องบ่มัก    บ่จ้างขั๋บจ๋ำ      นายกื๊ดว่าลำ    จี่งยำลาบส้า
ป๊อยก๋ายเป๋นผง ลำโภงเขือบ้า      มาจ๋กคอคาย   ฮากต๊น

      นายไม่เต๋มใจ๋   ไผจั๋กยู้ย้น      มาตั๋ดฮากต้น   ฮอนฮาน
ยามเมื่อน้องฮัก น้ำส้มว่าหวาน      ใจ๋บ่เจยบาน    น้ำต๋านว่าส้ม
แรกเริ่มเดิมจ๋า   ตกลงเหลียกหล้ม   จื่งป๋งอารม   เจื้อน้อง

      ก่บ่สมเหมือน   นางจมปากป๊อง   จ๋าฟู่ต้าน   เอางาม
ปากน้องว่าแต๊    ใจ๋นายบ่ต๋าม      เอาน้ำใสงาม   มาล้างซ่วยหน้า
ป้อยบ่มีเหมือน กำนายฟู่ข้า      บ่สมวาตา   แห่งน้อง

                                    


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 04 กุมภาพันธ์ 2015, 15:47:15
(http://image.free.in.th/z/if/2163326.jpg)

 
    ขอบคุณเจ้า



หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 04 กุมภาพันธ์ 2015, 20:02:22
ยินดีครับ
หวังว่าเยาวชนรุ่นหลังจะได้รับรู้ถึงจิตวิญญาณที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรไว้


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 07 กุมภาพันธ์ 2015, 17:58:32
คำแปล  หน้า  ๓

      หัวใจ๋ญิง    เหมือนปินป้าดก๊อง   ภิภาทแก้ว   เภรี
คนนอกเนื้อ    เขาเจื้อลองตี๋      เสียงวอนดี    บ่จ๋นเรื่องได้
มางืดหัวใจ๋    แม่แภจี๋นใต้      เป๋นสันใดไป   อย่างนี้

      อยู่ดี ๆ       หนีหน้าหลีกลี้      เป๋นดั่งอี้   ยังมี
สมสู่ฮัก    บ่ตันเถิงปี๋      มาก๋วนเตควี    ละปี้เสียได้
ส่วนเป๋นไผ    บ่รนฮ่ำไห้      เป๋นสันใดนาย   บ่คิด

      มาเอาตั๋วต๋น    ปี้เป๋นง้วนปิ๊ศ      คิดเยื่องอั้น   สันใด
สองล่งตั๊ด    ยามผาศะรั๋ย      บ่ขินดวงไธ    จ๋าแข็งแดกหย้อ
กำผิ๋ดเถียงกั๋น    บ่มีสั๋กข้อ      มาจ๋างจืดคาย   ง่ายนัก

      อยู่กั๋บกั๋น    ก๋ำลังภองฮัก      บ่มีหว่างอั้น   ตังจัง
บัดเดียวเดี่ยวนี้   โต้ษปี้มีสัง      น้องจ๋งจิงจัง    บ่หวังผ่อหน้า
มาขัดแกนใจ๋    สี่งใดหื้อข้า      มาสว๋ะตุมลา   คว่างละ

      ของน้องเกยกิ๋น   ป๊อยขี้เหลียดจ๊ะ   ไผว่าหื้อ   สันใด
ฤาฝูงปี้น้อง    บ่ซอบปอใจ๋      จ๋าฮ่ำไฮ    ติเตี๋ยนว่าห้าม
ริสส๋ะหยา    นินตาจ่มส้าม      กลั๋วโต้ษมาปาน  ป๊ะน้อง

      ลวดตกใจ๋กั๋ว    ซะดุ้งซะต๊อน      ใจ๋หย่อนหย้าน     เปิงมี
ใผจุ๋สู่ยยู้    หลอกหื้อนายหนี   แต่เดิมธี    ใผสังบ่ห้าม
เมื่อสองจ๋ากั๋น    บ่ตันล่วงข้าม      ไผหยิ๋บฮิม   ปากไว้

      กำจ๋าหอม    เปียงรษดอก      ไม้ยามบิ๋ดจากขวั้น   มาดม
กำฟู่เก๊า    เงื่อนเหง้าป๋ะถม   บ่สมสั๋กราย    สูนหายกว่าจ้อย
กื๊ดหาไหน    บ่มีสั๋กหน้อย      ของบ่มี      ป้อยฮู้

      มาหนีตังผัว    ไปหนัวตังจู๊      ใจ๋หลี่งหลู้   ตวยไป
เหมือนหมู่ไม้    เมื่อลมตี๋ไกว๋      มาไหวหวั่นเฟือน ก่ะเธือนจุ๊ด้าน
หลอนไหวแต่ใบ บ่ไหวกี่งก้าน   ก่ปอยังแควน   บ่ฮ้าย

                                 


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 08 กุมภาพันธ์ 2015, 13:05:29
คำแปล  หน้า  ๔

      บ่ปอเสียใจ๋    ซะดุ้งฟุ้งย้าย      นี้ไหวฮากขื้น   เถิงใบ
กันว่าเป๋นจู๊    นอกเนื้อป๋ายใจ๋   เต๋มหนีจากไป    บ่น้อยบ่ไห้
เมียคิ่นเตียมใจ๋ จั๋กหาไหนได้      ป๊อยไกล๋มือไป   ขอกฟ้า

      สังบ่กื้ดใจ๋   เมื่อเก้าซ้อนง้า      นอนฮ่วมผ้า   ผืนเดียว
เมาะม่อยเนื้อ    เจยจมก๋มเกี๋ยว      จ๋าเยอะหยอกเคียว ซาบซุบจูบแก้ม
ปี้ข๋ดตั๋ว   เข้าปิงเอื้อมแอ้ม   ถานามือ   นวดนี้ว

      ปี้จูบติ๋นผม    นายดมหว่างกี๊ว   บ่จ๋าโขดกี้ว   ยินดี
เดิ๊กเตี้ยงฟ้า    ข้อนรุ่งรวายตรี๋      หมอกเหมยธานี   ตกลงย้อยก้วย
เดือนยี่สี่สาม    ธลามหนาวด้วย   ปี้แป๋งคิงตวย   เบียดยัด

      เอาแขนซ้อนแขน  ซะแกงฮวบฮัด   สองอืดอ้อน   นอนปิง
หนาวซะต๊าน    เมื่อยามระติ๋ง      เมาะม่อยคิง    เอาแก้มก่ายแก้ม
มือเบื้องขวา    น้าวคิงมาแอ้ม      แขนซ้ายสอด   คอนอน

      ฮักตอบฮัก    บ่มายถอยถอน      สองวิงวอน   เซื้อมซ้อนจูบแก้ม
ซุบซาบกั๋น    ว่าขดมาแอ้ม      หนาวเย็นคิง   สั่นเนื้อ

      สองฮักกั๋น    ใฝ่ฝั้นฟักเฟื้อ      ตั๊ดตี้ห้อง   หอใน
สองปี้น้อง    ไถ่ถ้องผาศรัย      จ๋าเยาะใย    ลูบกำเนื้อเหล้น
ฟู่กั๋นหนัว    หัวใจ๋ตื่นเต้น      เจ้าสีวันเย็น   น้องสังบ่กื๊ด

      บ่ใจ้ว่าตั๋ว    ปี้แข้งเลิกปื๊ด      ค้นเล่าต้าน   กำเดิม
บ่จ๋าเสียดต๊อ    ว่าหย้อตวยเติ๋ม      กันจ๋ากำเดิม    จ้างผิ๋ดจ้างข้อง
ทรงวัตถา    ผืนลายก่านป้อง   ฝูงสุโน      เห่าตั๊ก

      เหตุว่านาย    กวี้มายกำฮัก      บ่คิดฮอดด้วย   กำแปง
รอยว่าน้อง    มีกำกิ๋นแหนง      จั๋กอยู่ลับแลง    กั๋วได้ฮ่วมข้า
จี่งหล๋บตั๋วหนี    หลักซงลี้หน้า      หนีคืนมา   ฮีบฮ้อน

                               


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: WH_Y ที่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2015, 22:14:28
  มาติดตามอ่านค่าวซอเจ้า ยินดีเจ้าตี้แปลเป็นตัวหนังสือไทยหื้อได้อ่านเจ้า... :D


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2015, 10:55:24
ขอบพระคุณที่ติดตาม  และให้ความสนใจ   ผมก็จะทยอยแปลลงนะครับ

คำแปล  หน้า  ๕

    หลอนน้องบ่กั๋ว ปี้ปิงปี้ซ้อน      หล้างอยู่ได้   ไปเมิน
หันปี้ตุ๊กข์ไร้    ใจ๋นายบ่เสิน      ลวดปาภะเอิน    จิ๋ตใจ๋บ่เอื้อ
ซับสี่งของ    เงินธองผ้าเสื้อ      ก่จ๋นกู้อัน   กู้เจื๊อ

    มีแต่ติ๋ดตั๋ว    ห่มคิงบิงเนื้อ      ก่เหลือแต่เสื้อ   ผืนเดียว
ตั๋วก่ตุ๊กข์    กำกื๊ดก่เถียว      นายเหลียวสอดแยง แคงใจ๋สะหลั้ง
หาจั๋กบ่เป๋น    ตี้ปิงอิงจั้ง      บ่หันจ้องตาง   ผิ่วต๊ง
                      
    เมาจั๋กปาหลง    เขินตั๋วซ้นต๊น      จั๋กเป๋นเหยื่อหญ้า  สันใด
กำดั่งนี้    เจ้าแผ่นเมืองไหว   ระนืกในไธย    สงไสใส่ข้า
ปี้หากเข้าใจ๋    บ่ถ้าขายหน้า      บ่แป๋งวาตา   ใส่น้อง

เหมือนอยู่ในใจ๋   คำใบเมืองว้อง   ลวดใจ๋บ่ข้อง   อาไล
กำฮักน้อง    หลูดๆ ไหลๆ      ไหวตวยลม    บ่สมว่าอ้าง
บ่ฮ่ำเปิงเถิง    เมื่อนอนฮ่วมข้าง   ป๋างยามเดิม   ก่อนเนิ้น

    กำฮักเฮา    บ่แห้งขาดเคิ้น      บ่หายเหือดเอื้อน  วันคืน
สองหากฮัก    เป้ดเปียงจักกื๋น      เหมือนจักลืน    ก้าบเกี๊ยวลงได้
ยามจั๋กหนีเสีย   ลับแลงแคว่นใต้   เป๋นสันใดนาย   บ่คิด

    เกยอยู่เฝือแฝง    เปาแปงเซื่อมซิด   บ่คิดห่วงห้อย   อาไล
มาละปี้ไว้    อยู่นอนกับไผ      คอบคัวใด    ริบล้อนมาเสี้ยง
ตั้งแต่จาย    ภากนายแก้มเกี้ยง   หัวอกปี้เปียง   จ๊ะม้าง

    ผัดผันหัว    เมามัวปั่นกว๊าง      ต๋ามโต้งกว้าง   ฮอมนา
กื๊ดฮอดน้อง    เกยฟู่เกยจ๋า      น้ำต๋าปี้ปัง    บ่มีหว่างเอื้อน
กันกื๊ใจ๋เถิง   แม่แภสีเหลื้อน      กวั้งเมาเฟือน   เปื่อนตุ๊กข์

    เข้าป่าเข้าสวน   ป่าก้วยป่ากุ๋ก      จุ๋กนั่งไห้   เหงางู
ตี้ใดลี้ลับ    สงัดใจ๋หู      สวนหมากสวนปู  ป่าป๊าวลาวบ้าน
ตี้บ่มีไผ    เดือดนันจ๋าต้าน   ปี้หนีไปซง   บ่มซุก

                               ๕


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2015, 21:14:33
อู้แต๊ๆ   ใจ๋จิ๋งบ่อยากแปล๋สั๋กหน้อย
ไค่หื้อท่านอ่านภาษาตี้ท่านอู้ หื้อได้
จะขอแปล๋บ๋ทตี้ ๑ นี้เกิ่งเดียวเน้อ
ตี้เหลือท่านลองแปล๋หรืออ่านคนเดียวหื้อได้เน้อครับ

อภิวัฑฺฒโน
๒๘๐๒๒๕๕๘
ปล. ขออภัยผู้รู้ในล้านนาหลายท่านที่เก่งด้านภาษาล้านนา
ผมเขียนเพื่อการอนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลานและผู้ที่สนใจได้ศึกษาเท่านั้น
มิได้มีเจตนาอื่นใดหวังว่าจะไม่เป็นการเอามะพร้าวห้าวมาขายสวน


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2016, 19:57:46
หวัดดีครับ
หายไปปีกว่า ถูกลงโทษเพราะไปทำผิดเงื่อนไขของทางเว็บฯ เข้า
พอดีช่วงปีก่อนผมป่วยเข้าผ่าตัดใหญ่ รพ. ทางจังหวัดเชียงใหม่
ก็ได้พักพอดี
คิดถึงทางเว็บฯล้านนานี้มากๆ นะครับ
จะทะยอยลงสิ่งที่ผมรักและภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมชาติกำเนิดนะครับ
ขอบคุณทางเว็บมาสเตอร์และทีมงานที่ให้เข้ามาอีกครั้ง

อภิวฑฺฒโน
๒๘๑๑๕๙


หัวข้อ: ค่าวเจ้าลาภะ
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2016, 19:59:36
เอามาจากต้นฉบับเลยนะครับ
เผื่อมีผู้สนใจศึกษาภาษาล้านนาที่พิมพ์ค่าวนี้เมื่อกว่าร้อยปีมาแล้ว

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-01
(http://upic.me/i/m0/41-01.jpg) (http://upic.me/show/59883528)
                     นโมตั๋สส๋ะ   ภะก๊ะวะโต๋   อะระหะโต๋   สัมมา
สัมปุ๊ททัสส๋ะ

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-02
(http://upic.me/i/es/f1-02.jpg) (http://upic.me/show/59883546)
                                   ข้าคุเข่านบ   เคารบก้มเกล้า   แทบ
เท้าสีสัง   การะวะ  พระแก้วปั๋ญจั๋ง   ด้วยตรี๋ต๊ะวารัง   อัตตั๋งแห่ง
ข้า   ขออย่าเป๋นกั๋มม์   อันหื้กหยาบกล้า   เปื้อเอาธัมม์มาแต่งก๊อน

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-03
(http://upic.me/i/g5/r1-03.jpg) (http://upic.me/show/59878314)
กั๋บเอาอั๋ตถา        มาซอนใส่ซ้อน     ยามเมื่อส้างก๋อนกำ     ขอลุบ
โทษร้าย   ด้วยวจี๋กัมม์   ป๋าป๋ะธัมม์   อย่าต๋ำถูกต้อง  ขออย่าขั๋ดขวาง
หนตางสองห้อง   กืสั๋กกากอง   มักก๊ะ

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-04
(http://upic.me/i/av/h1-04.jpg) (http://upic.me/show/59879806)
                                                    ขอปันได้เถิง   ดั่งด้วยภาวะ   ไจ๋
ไฝ่ข้องผันเติง         ภุมถ่อยจ๊า       อย่าฮู้หันเถิง     ขอปันเติง         สุ๋กข์
สามสี่ได้   ปร๋าถะนา     จุ้วันไจ้ ๆ   ขออย่าก๊อยก้าดไกกา

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-05
(http://upic.me/i/h8/s1-05.jpg) (http://upic.me/show/59879807)
                                                                           ข้านบกราบ
แล้ว   พระแก้วปั๋ญจ๋า         จั๋กแป๋งวาตา         ก๋อนจ๋าฮ่ำส้าง     ต๋าม
ประหย๋า   ปั๋ณญาบ่กว้าง   บ่ซว้างแต้บก๋อนกำ

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-06
(http://upic.me/i/eb/o1-06.jpg) (http://upic.me/show/59883477)
                                                              ฟังเต๊อะน้อง   เปื้อนข้อง
ตั๋วกั๋ม       จั๋กไขระบำ       บอกซ้ำหื้แจ้ง         บ่ไจ้ว่าต๋น         ม่อนดน
ส้างแส้ง      แป๋งเตียมธัมม์เรียบร้อย

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-07
(http://upic.me/i/iq/w1-07.jpg) (http://upic.me/show/59883488)
                                                  หื้ฝูงข๋ะหนาน  จาวบ้านธิศน้อย
ไขอ่านถ้อยงานตาน    แต่ล่วงแล้ว    อ๋ะตี๋ต๋ะก๋าล        เหินเมินนาน  ไจ้
ถ้านของสั้น   ยังมีรัฏฐา   ธานีนื่งหั้น    ไนแผ่นจั๊นเมธาณี

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-08
(http://upic.me/i/ue/v1-08.jpg) (http://upic.me/show/59883696)
                                                                                นามจื้อจั๊น
ปารานะสี       ลวงขวางลวงรี         ปอสิ๋บโยชหั้น    มีปร๋ะก๋าร     ก่อหิน
ดินหั้น          ปอสามจั๊นก๋ำแปงเวียง

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-09
(http://upic.me/i/q4/t1-09.jpg) (http://upic.me/show/59883698)
                                                             มีคืแวดไว้          ดอกไม้จั๋ด
เจี๋ยง     ปูกบัวเรียง       ดอกป๊านเรียงด้วย      มีหลายสี         ขาวแดงจี๋
ส้วย   หยาดหยายตวยรอบน้ำ

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-10
(http://upic.me/i/in/w1-10.jpg) (http://upic.me/show/59886407)
                                            ผั๋กคาบผั๋กหนอง  ผักบุ้งมีซ้ำ  ผั๋บจุ้กล้ำ
คืเวียง    ดอกบานพร้อม    ย่อมนันด้วยเสียง    สั๋ตต๊ะส่ำเนียง    พระมอน
ไฝ่เฝ้า         โขงป๋ะตู๋       ต๊ะวารเตียวออกเข้า             สมเปิงเปาเลิดล้น

(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-11
(http://upic.me/i/s7/k1-11.jpg) (http://upic.me/show/59886436)
ก่อเป๋นหลัง    สูงขื้นสนป๊น   มุงกะเบื้องดินแดง       ใส่จ้อฟ้า   ปาน
  ลมสมแสง      ติ๋ดคำแดง         นิดแฝงแก้วแอ้ม     ลางตี้บิ๋ดจิ๋น  ลาง
  ตีต้องแต้ม         เป๋นดวงแอมรูบเนื้อ      



หัวข้อ: ค่าวเจ้าลาภะ (หน้า ๒)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 04 ธันวาคม 2016, 09:05:33
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-12
(http://upic.me/i/8m/i1-12.jpg) (http://upic.me/show/59889837)
รูปบั๋กขี    บี้เบื้อไฝ่
 เฝื้อ      สมสอดเอื้อดวงบาน         วิวิธะ    วัณณะเจื๋อจ๋าน      ตรรทวาร
 กะดานแขบแก้ว           ติ๋ดคำไส     วักไวผ่องแผ้ว       เลิดแล้วรุ่งเรือง
 ไล
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-13
(http://upic.me/i/gh/v1-13.jpg) (http://upic.me/show/59889838)
             ส้างแต่งไว้      แห่งปร๋ะก๋ารหลาย   ฝังก่อหยาย   จุ้ค่ายตั้งหมั้น
ตานต้าวปร๋ะก๋าร    หอเฮือนหยายขั้น   มาแขวนเดงดังร่วนซ้าว
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-14
(http://upic.me/i/gh/x1-14.jpg) (http://upic.me/show/59889839)
                                                                                           ผั๋บ
ติ๊สสา     สี่ด้านเวียงต๊าว      โขงเขตด้าวปารา     ดูเยือกยศ      ปร๋าก๋ฏ
ปอต๋า     แผ่นสุทธา      ลาบเปียงเลี่ยนกว้าง      ผั๋บทุกหน      มณฑล
เอกอ้าง    เหมือนเวียงติ๊บพ์แห่งท่านอินตา
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-15
(http://upic.me/i/gh/61-15.jpg) (http://upic.me/show/59889840)

                                                             เหลือเต้ษต๊อง        ต่างห้อง
  รัฏฐา     เวียงปารา    ทีฆาไหย่หม้า           มีคนหลาย    ขุนนายไพร่ฝ้า
  เต๋มอาณาไคว่คับ
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-16
(http://upic.me/i/gh/n1-16.jpg) (http://upic.me/show/59889841)
                              ผ่อหลังเฮือน         เหมือนไขหลืบปั๊บ     เต๋มถี่
   แหน้นไนเวียง   กองไหย่น้อย  สี่ด้านตั๋ดเกี๋ยง  มีกาดรีเรียง  เถียง
   ขายจุ้ด้าน  ส๋ะค่วยเสฏฐี  หากมีเป๋นถ้าน   ตังสองต๊ายฝ่ายหัวเวียง
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-17
(http://upic.me/i/3d/p1-17.jpg) (http://upic.me/show/59897440)
 สั๋พพะเยื่องพร้อม      คัวกาดรีเถียง     ผืนแภเจียง             แผ่นเนื้อเสื้อ  
 ผ้า      มีตังสีขาว     สีออนเข้มกล้า        ปั๋งแดงดำภ่ำพร้อม      
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-18
(http://upic.me/i/2m/k1-18.jpg) (http://upic.me/show/59897441)
                                                                                         ตังสี
 เหลือง      มุ่ยแหล้คามย้อม     ตังสีม่วงอิ้นเขียวนิน     สั๋พพะเครื่องไช้
คัวไว้คัวกิ๋น      ของเจียงจิน   กู้เจื้อมีเสี้ยง          เนื้อเกื๋อป๋า            ปู
ยาหมากเหมี้ยง    กองหยายรายเหมียดจุ้  
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-19
(http://upic.me/i/mn/51-19.jpg) (http://upic.me/show/59897442)
                                                          คำปั๊บคำปิว    ตองหาวตอง
ยุ         ส๋ะตุ๋เหียกก้อนจืนตอง      แอบอูบอุ๋ก    ถ้วยจ๊อนถมถอง    สอง
ฝ่ายกอง    หยองต๋ามกาดกว้าง    ปร๋ะสงสัง    หลอนยังใฝ่อ้าง   มีกล๋าง
ต๊องเต้ษปารา
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-20
(http://upic.me/i/d3/t1-20.jpg) (http://upic.me/show/59897543)
                                  จั๋กบอกน้อง     ตี้ข้องสายต๋า            ต๋ามวาตา
ปร๋ะยาหมี่นสั้น    ส่วนปายต๋น    จ๋อมพลเมืองหั้น    เต๋โชแฮงเค่งคัด
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-21
(http://upic.me/i/xy/l1-21.jpg) (http://upic.me/show/59897544)
นามะก๋อน  ว่าพรหมะทัต   เป๋นปิ่นเกล้าอานา    มีมิ่งจั๊น   เตวีเตียมต๋า
ปิ๋ยะภา       ตี้ฟูมเฟื้อฝั้น             หากเป๋นสาย            ค่าวเคือเมืองหั้น
เจื่องจั๊นต้านเจยจม
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-22
(http://upic.me/i/ng/f1-22.jpg) (http://upic.me/show/59897546)
                               มีหมู่นางไจ๊  กืนาสสนมม์  อยู่แฝงเรียงรม  จื้นจม
ไฝ่ฟั่น     สังข๋ะหย๋า   หมื่นหกปันหั้น    แฝงเตียมตันร่วมรษ





หัวข้อ: ค่าวเจ้าลาภะ (หน้า ๓)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 06 ธันวาคม 2016, 20:28:25
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-23
(http://upic.me/i/1t/x1-23.jpg) (http://upic.me/show/59905394)
 อยู่กั๋บต๋น
 ปี่นเกล้าทรงยศ       ไนปร๋าสาทแก้วเฮือนคำ           นิเวศต๊าว      สว่างยาว
 บ่ขำ        หลายเหล่าลำ          ยอดซ้องไหย่หน้อย     ปร๋ะจิ๋ตแสง       ไบไร
 ข่ายส้อย     ไนผังกาคำจี้ดจ๊อย
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-24
(http://upic.me/i/2m/i1-24.jpg) (http://upic.me/show/59905400)
                                                   หีงเดงแขวน      ทุกแดนเรียบร้อย
เสียงสว่างป้อยลมตอ      รูบนางคุทธิ์   ไหย่หน้อยจิ๋มจ๋อ   หงส์ยอคอ   รูบ
ลวงล้วงฝ้า        สอดสนเกี๋ยว           หัวเหลียวยอหน้า    ตังรูบเต้พพาอยู่
เร้น
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-25
(http://upic.me/i/y3/41-25.jpg) (http://upic.me/show/59924499)
                ต๋ามเบงจอน   จุ้ห้องบ่เว้น    ตังเขตหน้าโขงทวาร   แหน้น
ถี่นัก    ลายลักปั๋กสาน     เหมือนวิมาน   เต้บติ๊บแส้งส้า            มีโขง
ปิ๋ว       ปานลมกาบจว้า     ตังจ้อฟ้าต่างหย๋องบน
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-26
(http://upic.me/i/w3/n1-26.jpg) (http://upic.me/show/59933191)
                                                        ยอดไหย่น้อย       แหน้น
นิเวสน      สนิ๋ดเจียงจน       สั๋ตสนข่ายแก้ว      หลอนลมมาไส    ไบ
ไรผ่องแผ้ว        ไหวยะยาบยวา ๆ         สูงส่งป๊น         ล่วงป้นสายต๋า
ร้อยซาววา    ยอดปร๋าสาทแก้ว         ส่วนพระราจา       เจ้าต๋นผ่องแผ้ว
เต๋โจแรงเร่งริทธ์
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-27
(http://upic.me/i/s1/s1-27.jpg) (http://upic.me/show/59933192)
                          สฐิ๋ตเหนือ             แท่นแก้วเชียงชิด            ไต้
ร่มกว้างสั๋ตคำ     ด้วยเต๋จ๊ะ     บุ๋ปพะบุญกัมม์   ไหลเหลื่อมงำ       ต้าน
ต๊าวผู้หม้า    เป๋นกร๋ะสัตร๋า       เฮ่งแฮงแขงกล้า       ไต้ลุ่มฟ้าบ่มี
เตียม
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-28
(http://upic.me/i/gj/p1-28.jpg) (http://upic.me/show/59940738)
                ทุกเมื่อมื้อ       อืดอื้ด้วยเสียง        หลายส่ำเนียง       ก๊องก๋อง
ปาดก้อง      มี่นันเสียงโขง       หอโฮงเขตห้อง           เสียงเนืองนองบ่งัด
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-29                          
(http://upic.me/i/bj/21-29.jpg) (http://upic.me/show/59940741)
พวกนนตรี๋   ดีดสีเป่าปั๊ด     สงเสบเจ้าภูธร                สนุ๋กร่วนเร้า
ทั่วไนนิก๋อน  โขงเขตนะกอน   ม่วนวอนจุ้ห้อง กล๋างวันกล๋างคืน  โยศ
อื้นเสียงก้อง     ภ่องร้องร่ำธำเพง        
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-30
(http://upic.me/i/e0/v1-30.jpg) (http://upic.me/show/59943294)
                                                            เมืองแห่งต๊าว       จื้นย้าววอน
เหมง       โลกลืเซง           ติ๊สส๋ะสี่ด้าน      อ๋ะมิตตั๋ง   ป้ายปังกั๋วหย้าน  บ่ธน
ธานเดชริทธ์        
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-31
(http://upic.me/i/7z/a1-31.jpg) (http://upic.me/show/59943295)
                          คนตังหลาย  ต่างส้างธำคิด   ต๋ามไฝ่เหล้นไผมัน   เป๋ด
ห่านเลี้ยง         ไก่เอี้ยงเขาขัน        แป๊ะลาวนัน            จ๊างม้าแส่นก้อง
งัวควายหลาย     จุ้ปายโขงห้อง      จ๋นก่อกองกั้งกั๊ด
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-32
(http://upic.me/i/dy/e1-32.jpg) (http://upic.me/show/59944159)
                                                                        คนหลายถม   เมือง
พรหมทัต     มีมากถ้านป๋านใด    จั๋กบอกไธ้        หื้อซาบดวงใจ๋          เมื่อ
เสนาไน        หลุ๋ไหลแห่เจ้า                 ยามเมื่อต๋น         จ๋อมพลผ้ายเต้า
ฝูงพลนองละลด
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-33
(http://upic.me/i/l2/v1-33.jpg) (http://upic.me/show/59944160)
                              เผียบเตียมเหมือน     ธัมโมปวกมด            เปียงแม่
เผิ้งหนีรัง      พลพวกท้าว       หาดห้าวส๋ะกั๋น    ออกทวารัง    ป๋ะตู๋ไหย่หม้า
หลั่งหลุ๋ไหล      ไปเหมือนเมฆฝ้า        ไจ๋มานาหยาบจ๊า
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-34
(http://upic.me/i/4z/o1-34.jpg) (http://upic.me/show/59944161)
                                                                                   หันเสือ
หมี      บ่หนีตอบต๊า           แขงก่งก๋ายา        จ๋บเป้ดล้วน             สั๋พพะ        
สิ๋บป๋า        จ๋บถ้อยตา           กาถากาถ้อย   จ้างแป๋งก๋อน         กำวอนม่วน
ส้อย       อื่จ๊อยอ่อยซอซอน  
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)1-35  
(http://upic.me/i/cd/i1-35.jpg) (http://upic.me/show/59944162)
                                          สาวบ่าวฮ้าง   ต้านส้างสารก๋อน    สนุ๋กวิงวอน
บ่รอนโสกเส้า      สุ๋กข์กร๋ะเสม      เปื้อด้วยบุญเจ้า              ต๋นต๊าวเลิดปารา
ไขนิยา      นิก๋าบ๋ทเหง้า     เต้านี้ป๋งเอาไจย    ก่อนแลนายเหย






หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 08 ธันวาคม 2016, 13:34:35

ไค่ซื้อค่าวเก็บไว้ที่เป๋นภาษาไทย เปิ้นมีขายตังใดน้อ..ขอบคุณเจ้า



หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 08 ธันวาคม 2016, 22:31:50
ลองหาซื้อที่เชียงใหม่นะครับ
...ร้านสุริวงค์บุ๊คเซนเตอร์

และร้านประเทืองวิทยา...
แถวๆกาดหลวง
ฝั่งทางห้างทองโอ้วจินเฮง


หัวข้อ: ค่าวเจ้าลาภะ (หน้า ๔)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 13 ธันวาคม 2016, 16:10:42
บทที่ ๒
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-01
(http://upic.me/i/gp/x2-01.jpg) (http://upic.me/show/59952666)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-02
(http://upic.me/i/oo/s2-02.jpg) (http://upic.me/show/59952688)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-03
(http://upic.me/i/lc/22-03.jpg) (http://upic.me/show/59952669)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-04
(http://upic.me/i/ob/42-04.jpg) (http://upic.me/show/59952670)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-05
(http://upic.me/i/eo/52-05.jpg) (http://upic.me/show/59952671)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-06
(http://upic.me/i/b1/v2-06.jpg) (http://upic.me/show/59956713)


หัวข้อ: เจ้าลาภะ (หน้า ๕)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 15 ธันวาคม 2016, 08:29:45
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-07
(http://upic.me/i/2v/92-07.jpg) (http://upic.me/show/59963527)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-08
(http://upic.me/i/ce/62-08.jpg) (http://upic.me/show/59963548)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-09
(http://upic.me/i/l5/g2-09.jpg) (http://upic.me/show/59963549)
(บทที่) - (คำประพันธ์ที่)2-10
(http://upic.me/i/g3/w2-10.jpg) (http://upic.me/show/59963550)


หัวข้อ: เพิ่งจะได้ค่าว "หมาขนคำ"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2017, 11:01:56
ดีใจนะครับ
นานหลายปีละมีคนถามหาค่าวเรื่อง "หมาขนคำ" หรือ "สุวรรณะเมกฆะ"
เวอร์ชั่นภาษาไทย
(ภาษาล้านนาปัจจุบันไม่ค่อยจะมีละครับ..เหตุผลคือหาคนอ่านยากทำแล้วขายไม่ออก...ว่างั้น)
                                  หมาขนคำ

๑.๐๑     เอ้กะป๋ะตั๋ง      วาจั๋งท่านพระ       ขอคาระวะ     สมาโตสา
         อั้นกำพระพุทธ   ท่านเตสสนา        เป๋นกถากำ    บาลีถี่ถ้วน
         อั้นฝูงเด็กขา      นารีอ่อนอ้วน        ฟังคะบวน     ไม่ซัด
๑.๐๒     จิ่งริสนา         อุสาห์เลือกคัด      คิดออกได้     เป๋นซอ
         หื้อฝูงอ่อนน้อย   ญิงจายหลายหลอ ฟังก๋อนกำซอ  ค่าวธรรมพระเจ้า
         จุ่งปากั๋นจ๋ำ        เนอคำล้นเบ้า       อย่านับฟังเบา  คว่างละ
๑.๐๓      จุ่งปากั๋นฟัง    อย่าปมาทะ         ยังเรื่องถ้อย     ฝอยธรรม
         ชื่อสุวรรณะ        เมกฆะบุญหนำ     กั๋บหมาขนคำ   พี่น้องสองเจ้า
         เทวะตั๊ดโต๋         ปาโลร่วมเข้า       ก๋วนควีเอา      ค่ำทุกข์
๑.๐๔      จุ่งฟังต๋ามแนว เต้อะแก้วสีมุก      พี่จั๋กเล่าต้าน   ต๋ามมี
         ชื่อเมืองหนึ่งนั้น   ปาราณะสี           ก็เป๋นบุรี         มิ่งเมืองแก้วกว้าง
         ไพร่ฟ้าข้าเมือง    อยู่สรงเสพสร้าง   สนุ๋กเดินตาง    รถล้อ
๑.๐๕      ดูต้าวก๊าขาย   ญิงจายเต๊าต๊อ     เจ๊กแขกห้อ      ไทยลาว
          แต่งตั๋วอะเล๊ะ     จายหนุ่มจุมสาว   สนุกปิงปาว       ตังกิ๋นนุ่งหย้อง
          มีเสนา              บ่ดีอยู่ป้อง           ปกครองเมือง    เร่งคิด
๑.๐๖       เป๋นที่สู่หา     ฝูงปั๋จจามิตร       ถวายฝากขึ้น     หอทอง
          มีพระบาทต๊าว    เป๋นใหญ่ปุ๋นป๋อง  รักษาป๋กครอง    ปั๋จจาไพร่ฟ้า
          นางนาฏสนม   แวดล้อมอ้อมหน้า   กั๋บพระราชา      ยิ่งยศ
๑.๐๗      พวกน้อยทหา แวดวังลดละ       รักษาขอบขั้น     สีมา
          นามชื่อแห่งพระ  กระษั๋ตตร๋า         อั้นเป็นพญา      ปาราแห่งนั้น
          ชื่อสุตั๊ศศา         นะจั๋กร์ว่าอั้น       มีอนุพันธ์          เยือกย้าว
๑.๐๘      อามาตทูลสา  ฝาละอองต๊าว     รักษาเขตต์ด้าว   ในวัง
          มีเกียติยศ         ซ้ายหน้าขวาหลัง สิ๋บสองพระคลัง  หลั่งไหลมาเข้า
          มีมเหสี             เทวีร่วมเฝ้า          สองนางเลา       หนุ่มเนื้อ
๑.๐๙      นางปทุมมา    ชายาลูกเจื๊อ       เป๋นเมียเก๊าต้น    หนที
          พระองค์ก็รัก      ไม่ให้หมองสี      กั๋บพระเทวี         ตังสองอิ่งอ้อย
          เทวีตังสอง        ก็งามอ้อยหล้อย  บ่หนั๋กดุลย์ยอย   ชั่งค้อน
๑.๑๐      งามเสมอกั๋น   เนอจั๋นยอดม้อน  บ่หนั๋กหน่องข้อน  เนอนาย
          นางภะคิยานั้น    อั้นเป๋นเมียป๋าย   ก่จ้วยอุ๋บาย         ปฏิบัติอยู่เฝ้า
          จ้วยกั๋นรักษา   พระองค์จ๋อมเหง้า  กั๋บปทุมมานาง     แม่เก๊า  
 


หัวข้อ: ค่าวหมาขนคำ (๑.๑๑ - ๑.๒๐)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2017, 08:16:02
หมาขนคำ

๑.๑๑      พระโอรสสา     ปารานั้นเล้า     บ่มีลูกเต้า     จายญิง
          ใคร่ได้ลูกรัก        โอรสสัตย์จิ๋ง    เสวยปาวปิง   สืบสายปายหน้า
          เป๋นพระกษั๋ตริย์    รักษาไพร่ฝ้า    แทนพระบิดา พ่อไธ้
๑.๑๒      บ่มีเจื๊อจ๋าว เผียบเหมือนต้นไม้  บ่มีหน่อใต้     ต๋ายพาง
          บ่มีโอรส สืบหน่อหอขวาง เผียบเหมือนหน่อพาง ว่าไว้แต่กี้
          ทรงพระหั๋ตทัย     มีใจ๋ป่วนปี้       จิ่งเรียกเทวี    ที่รัก
๑.๑๓      ว่านางตังสอง   จุ่งมาสำนัก      ริมพระบาทเจ้า โปธา
          พระองค์จั๋กจี๊    โอวาทเจ๋ยนจ๋า    ด้วยผาถะนา     แห่งเราปายหน้า
          นางปทุมมา      แม่เดือนไหลฝ้า  กั๋บภะคิยา        แม่น้อย
๑.๑๔      ทราบว่าผัวขวัญ เรียกหาคะค้อย ก้อยยกต่องผ้าย ไปปัน
          เทวีพี่น้อง        มาพร้อมกั๋บกั๋น    ไหว้พระนักธัญ  ผัวขวัญคิ่นเหง้า
          ว่าสาวันทา      ฝ่าละอองเจ้า      มีก๋ารหนั๋กเบา   ธุระ
๑.๑๕      ร้องเรียกเทวี มาใกล้ป่าต๊ะ       ธุระบาทเจ้า     สันใด
          พระองค์บาทไธ้ จิ่งบอกจ๋าไข      ด้วยสีวิไล        ความงามบ่เส้า
          ว่าเทวีเหย       สองนางหน่อเหน้า จุ่งฟังกำเรา    กล่าวจี๊
๑.๑๖      ว่าเรานี้นา    เวลาเดี่ยวนี้         บ่มีลูกเต้า       ญิงจาย
          หาโอรส         บ่มีสืบสาย          ลูกญิงจาย      เราหาไม่ได้
          สมบัติประฐาน บ้านเมืองนี้ไส้      คงสูญไปดาย  ละไว้
๑.๑๗      ก็อุปมา      เผียบเหมือนต้นไม้ บ่มีหน่อใต้     ในดิน
          กันเถิงแก่ค้าว มดปวกคงกิ๋น        แล้วหั๋กลงดิน  มอดซอนหนอนด้วง
          ส่วนตั๋วเรารา  อยู่ปราสาทส้วง     สนุกปันปวง     เยือกย้าว
๑.๑๘      กันมาเถิงนาน เวลาแก่ค้าว      อิ๋ดอ่อนอ้วน    อินทรีย์
          บ่มีลูกรัก      เตื่อมก๊ำดีหลี         รักษาบูรี         ดังฤๅจะกู้ม
          บ่มีไผไหน    จ้วยป๋กหี่หุ้ม          ประชาเมือง     ไพร่นัก
๑.๑๙      เราจั๋กไขปั๋น เทวีแค้มคัก         หื้อนางหน่อเหน้า ฟังดี
          หื้อนางชำระ  อาบน้ำขั๋ดสี           ตั้งใจ๋หื้อดี       จ๋ำศีลแปดห้า
          ผาถะนา       ขอได้หันหน้า         หื้อมีบุ๋ตร์ดา     ลูกรัก
๑.๒๐      หื้อปู๋จาไฟ อยู่ในสำนัก            ขอได้ลูกเต้า    ต๋นบุญ
          หื้อได้สืบเจื๊อ หน่อเนื้อตร๋ะกู๋ล       รักษาบุญคุณ   ประชาไพร่ฝ้า
          ส่วนปทุมมา  เจ้าบุญแก่กล้า         ก็สาวันทา      กราบนบ                


หัวข้อ: ค่าวหมาขนคำ (๑.๒๑ - ๑.๓๐)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 01 มีนาคม 2017, 11:30:15
หมาขนคำ

๑.๒๑      อนุขั๋บต๋าม     ผัวต๋นด้วยคบ     ไหว้พระบาทเจ้า องค์ทอง
          ติ๋ดตั้งนั้น          นางก็ถัดถอง      ปฏิบัติกอง        จ๋ำศีลแปดห้า
          อาบน้ำขั๋ดสี       เจ้าไวแว่นหน้า   ผาถะนาเอา       ลูกน้อย
๑.๒๒      แม่ปู๋จาไฟ     ทุกวันคะค้อย     ขอได้ลูกหน้อย   ต๋นบุญ
          หื้อได้สืบเจื้อ     หน่อเนื้อตร๋ะกู๋ล  ขอเจ้าต๋นบุญ      ลงสู่โลกหล้า
          ตั้งปฏิสนธิ์        คัพภะแห่งข้า     นางผาถะนา       นบน้อม
๑.๒๓      ตั้งจิ๋ตต์ตั้งใจ๋  เจ้าอ้อมคะล้อม   มีใจ๋เตี้ยงต้อม    หนิมดี
          ก็ด้วยเต๋ชะ        ภาวะบุญศรี       ดวงป๋าระมี         เทวีหน่อเหน้า
          ก็ทราบขึ้นเถิง    อินตาท่านเจ้า    สำแดงเอา         บ่จ๊า      
๑.๒๔      หินปั๋ณดุกั๋ม   อินตาเจ้าฟ้า      ก็ร้อนกะด้าง       คางคิง
          อินตาเจ้าฟ้า      ท่านก็รู้จิ๋ง         จิ่งคิดคะนิง        ว่าเมืองลุ่มใต้
          คงมีเหตุก๋าร      รำคาญร้อนไหม้  จิ่มผู้มีบุญตา      แต๊ตั๊ก
๑.๒๕       พญาอินตา   ผ่อลงแค้มคัก     ในเมืองลุ่มใต้     จุมภู
          บ่กันเหตุร้าย      และศัตรู๋            ท่านเจ้าเลงดู     ก็หันถี่แจ้ง
          หันปทุมมา        เจ้าจั๋นฟองแป้ง   ปู๋จาไฟ             คะค้อย      
๑.๒๖       ผาถะนา       ขอให้ได้ลูกน้อย  องค์หนุ่มหน้อย   จายเลา
          ให้ได้สืบเจื๊อ      ธิราชแถมเถา      อินตาสำเนา      รู้หันถี่ถ้วน
          ว่าป๋างนี้นา        เจ้าต๋นบุญอ้วน     ก๋าละควร         แต๊ตั๊ก
๑.๒๗      ควรเทวบุ๋ตร์   เจ้าต๋นบุญนัก      ลงเกิดโลกหล้า  เมืองคน
          ปฏิสนธิ            สร้างบุญกุศล      หื้อปันอุดม        เป๋นพระปายหน้า
          ท่านเจ้าอินตา    ต๋นบุญแก่กล้า      ก็ราธนา           รีบนัก
๑.๒๘      ท่านเทวบุตร  สมปานแต๊ตั๊ก      เป๋นหน่อเจ้า      ต๋นบุญ
          ว่านิมนต์เต๊อะ     หน่อพุทธังกู๋ร      เจ้าต๋นมีบุญ      หาตุ๊กข์บ่ได้
          ขอเจ้าลงมา       เกิดเมืองลุ่มใต้     มีเต๋ชะชัย        บ่น้อย
๑.๒๙      นางปทุมมา    ไหว้หาคะค้อย      ใค่ได้ลูกหน้อย บุ๋ตดา
          ปทุมมาไท้         แม่ปู่จาหา           ที่เมืองปารา     ณะสีเอกอ้าง
          บ่มีบุ๋ตต๋า           จั๋กมาสืบส้าง        ปกครองเมือง   พิทักษ์
๑.๓๐       ขอลูกจายเลา เจ้าต๋นบุญนัก       มาเกิดได้         กั๋บนาง
          แทนพระเจ้าจ๊าง  สืบหน่อหอขวาง   นั้นและนงนาง    สีวัยอ่อนอ้วน
          ท่านเทวบุ๋ตร์       เจ้าต๋นบุญถ้วน     ก็รับนิมนต์        บ่ช้า


หัวข้อ: ค่าวหมาขนคำ (๑.๓๐ - ๑.๔๑)
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 14 มีนาคม 2017, 12:09:21
หมาขนคำ

๑.๓๑      รับเอานิมนต์    อินตาเจ้าฟ้า      ลงสู่โลกหล้า    จุมปู
          ว่าเมืองมนุษย์     ย่อมมีศัตรู๋         ขอพระเอ็นดู     ผ่อลงจ้วยข้า
          หลอนไปเติ้กจ๋น   ร้อนรนไปหน้า    ขอพระอินตา    เตื่อมกํ๊า
๑.๓๒      แล้วผั๋ดทะศีล   ส่วนบุญเสี้ยงซํ้า  จี่งหว่ายหน้า    ลงมา
          ขี่ราชรถ             พะยนต์หงสา      มีเทวดา          ลงมาส่งเจ้า
          ตังพระอินตา       ธิราชจ๋อมเหง้า    ขี่รถลำเลา       แอ่นฟ้า
๑.๓๓      ทิพย์จักรยาน   ก็นานบ่จ๊า          ลอยเมฆฝ้า      เสียงนัน
          ยามนั้นและ         ปุ๋นอัศจั๋น           ผ่อเดือนต๋าวัน  บ่หันมืดกุ้ม
          พระทิตย์พระจั๋นทร์ มืดตั๋นตุ้มลุ้ม      เหมยต๋กซุม     เมกฆะ
๑.๓๔       เมื่ิอเจ้าต๋นบุญ ลงสู่ครรภะ         นางหน่อเหน้า  ทุมมา
          ตั๊ดก๋าละนั้น         ซ้ำยังมีหมา        ตั๋วนึ่งมีมา       เข้าต๊องก่อนเจ้า
          จี่มปทุมมา          แม่คำหลอมเบ้า   เป๋นหมาบุญเลา แก่นัก
๑.๓๕       หมาตั๋วบุญมี   ฤทธีแค้มคัก        เข้าต๊องก่อนเจ้า กล๋างคืน
          ยามคนมนุษย์      หลั๋บทั่วทั้งผืน      กาละเที่ยงคืน   เข้าต๊องก่อนเจ้า
          ส่วนเทวบุ๋ตร์        ต๋นใสบ่เส้า          ก็ลงมาเซา      ย้างพัก
๑.๓๖       อากาศปายบน เวหนสำนัก          คืนนั้นบ่ายแจ้ง แสงวัน
          ปทุมมาไท้          หลั๋บได้ฝันหัน      นิมิตร์สำคัญ    ฝันหันค่อนแจ้ง
          ปทุมมา              เจ้าตั๋นฟองแป้ง     นอนสะแกง    เงียบมิด
๑.๓๗       หลั๋บแก๋มฝัน   เจ้าอยู่ซะซิด         เจ้าหันถี่เสี้ยน เสียงนัน
          ฝันหันพระทิตย์    กั๋บตังพระจั๋นทร์     เดือนกั๋บต๋าวัน ลงสู่โลกหล้า
          เสียงเนืองนัน      ลงมาจากฝ้า          สู่เมืองปารา    ที่นี้
๑.๓๘       ปทุมมา         แม่ฟันดำมี้            สะดุ้งตื่นขึ้น    ยามดี
          ก็แจ้งรุ่งแล้ว        เรืองเรื่อรวายถี       เจ้านางแม่มี    สะติ๋ชื่นได้
          อาบน้ำขั๋ดสี         องค์นางแล้วไส้      ก็เดินเข้าไป    บ่ช้ส
๑.๓๙       ไปกราบไหว้สา องค์พระเจ้าฟ้า      เป๋นเจ้าแผ่นหล้า สามี
          บอกด้วยนิมิตร์      นางฝันดีหลี          ขอพระบุญมี    ผัวขวัญกล่าวแก้
          จั๋กเป๋นเหตุก๋ารณ์   เยื่องใดไหนแหล้    ขอพระเลงแล  กล่าวตั๊ก
๑.๔๐        พญาปารา      รู้แจ้งแค้มคัก          ย้าวเยือกขึ้น    โสดา
           จิ่งจั๋ดพวกไจ๊       หื้อไปต๋ามหา         เอาหมอโหรา   มาตวายกล่าวแก้
           พวกไจ๊ก็ไป         เร็วใจ๋แต๊แหล้         เถิงเรือนครู     ยั้งพัก


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 19 สิงหาคม 2017, 10:02:12
(https://www.uppic.org/image-0B13_5997AA14.jpg)


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 09 กุมภาพันธ์ 2018, 09:25:10
ตัวอย่าง...
คร่าวฮ่ำนางจม....(คร่าวที่เป็นต้นแบบของคร่าวยุคใหม่ตลอดกาล)
หรือค่าวสี่บทของพระยาพรหมโวหาร
ฟ้อนต์ล้านนา LN TILOK  พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จาทยอยลงน่ะครับ

พูดถึงคำแรกสักนิด
รอม  ฮอม
ผมว่าใช้คำไหนก็ได้(แปล) แต่ครูบาอาจารย์บางท่านบอกว่า
ฮอม แปลว่าร่วม
รอม แปลว่าอาดูร โศกเศร้า
ผมก็ขออ้างการแปลคำนี้ของปราชญ์ชาวล้านนายุคหลังล่ะครับ

รอม / ฮอม  ก. รวม  to combine , to collect , to accumulate
                          รอมเป๋น 2 หมื่รเบ้ย  / หัตถกัมมวินิจฉัยฯ
                          วิบากกั๋มม์เรารอม   ตอบต้อง / โคลงมังทรารบเชียงใหม่

                          วิ. ร่วม  get along with , altogether
                          คนทยวทางรอมเส้น  กิ๋นเข้ารอมหมู่ดยวกั๋น / อนุโลมญาณกฎหมายโบราณ

ก็ขออ้างเอาคำที่คนล้านนาในสมัยก่อนใช้บันทึกไว้เพื่อหักล้างความเห็นน่ะครับ


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2018, 14:40:43
แปล  1.01
- รวมความทุกข์เดือดร้อน หนักหน่วงรั้งใจให้พี่เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า
- โปรดฟังเถิดน้องคนที่จิตใจพี่เกี่ยวข้องผูกพัน พี่จะเด็ดเอาดอกไม้ทั้งปวงมาร้อยเรียง
- หากว่าน้องไม่สนใจถ้อยคำของพี่ แต่ลมจะพัดมาหาน้องให้ได้รับความหอมหวานของถ้อยคำนี้


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2018, 17:16:20
ค่าวสี่บท....
1.02
- ดอกไม้จะผายกลีบชวยกลิ่นระรวยชวนให้ดอมดม
- เปรียบเหมือนบทกวีของพี่ที่บรรจงร้อยเรียงขึ้น
- โปรดฟังเถิดน้องผู้เปรียบเสมือนเอาทองจากบางตะพานมาตีแผ่กว้างซึ่งมีความงดงามมาแต่ต้นตระกูล


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 26 พฤษภาคม 2018, 19:57:38
ภิกษุท่านหนึ่ง
อ่านค่าวสี่บทของพญาพรหม บทที่ ๑
ลองฟังดูก็เป็นแบบนึงในการอ่านค่าวของคนล้านนาครับ
มีคอมเม้นท์บ้างว่าอ่านผิดพลาด ก็ดีครับค่อยช่วยกันแก้ไขไป

https://youtu.be/J8-I7mxiXcQ

เอาแค่สองบทแรกก็ฟังว่าผิดไปหลายคำครับท่าน
ภาษาล้านนาก็คล้ายภาษาไทยกลาง
ออกเสียงผิดคำเดียวความหมายไปกันไกล.....
อาทิ...เสือ   เสื่อ   เสื้อ  ฯลฯ

อยากให้ตุ๊เจ้าท่านนี้ฟังคุณอาทิตยา......หนานมาส(ผู้คอมเม้นท์มีความเห็นแย้ง)บ้างน่ะครับ
ผมฟังก็มันผิดจริงๆ ค่าวสี่บทนี้คนล้านนา
อ่านกันมากที่สุด....(ความเห็นส่วนตัว)
อ่านเขียนฯลฯ.....ผิดเพี้ยนไปคงไม่ดีแน่


หัวข้อ: Re: " ลักษณะวรรณกรรมคร่าวซอ "
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 03 ธันวาคม 2019, 21:53:14
ขอบคุณเจ้า


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 17 มกราคม 2020, 23:26:54
ขอเปลี่ยนชื่อหัวข้อนี้ ด้วยเหตุว่าจะได้ลงวรรณกรรมด้านอื่นบ้าง.... อาทิ โคลง ร่าย ...... ฯลฯ ขอบพระคุณครับที่ช่วยกันสืบทอด....


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 18 มกราคม 2020, 12:13:17
ขอเปลี่ยนชื่อหัวข้อนี้ ด้วยเหตุว่าจะได้ลงวรรณกรรมด้านอื่นบ้าง.... อาทิ โคลง ร่าย ...... ฯลฯ ขอบพระคุณครับที่ช่วยกันสืบทอด....

ผมตั้งใจว่าจะแปล โคลงวิฑูรสอนหลาน (ล้านนาออกเสียง กำกะโลงวิตุนสอนหลาน) นำเสนอสู่สากล
พอดีโลกยุคใหม่นี้มีโปรแกรมทางกูเกิ้ลมาช่วย ด้านการถอดคำอ่านคำแปลเป็นภาษาอังกฤษ ลองอ่านดูน่ะครับ โคลงนี้มีทั้งหมด 31 บท ผมจาทายอยเอามานำเสนอ


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 21 มกราคม 2020, 02:37:33
กำโกลงวิตุนสอนหลาน............ แปลไทย & English

บทที่ 3,4/31


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2020, 17:14:14
ขอกราบขอบคุณเจ้า


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2020, 17:19:05
กำโกลงวิตุนสอนหลาน............ แปลไทย & English

บทที่ 5,6/31


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 11 มีนาคม 2020, 20:45:05
กำโกลงวิตุนสอนหลาน............ แปลไทย & English

บทที่ 5,6/31

สุดยอดเลยเจ้า


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 13 เมษายน 2020, 08:10:57
กำโกลงวิตุนสอนหลาน............ แปลไทย & English

บทที่ 5,6/31

สุดยอดเลยเจ้า


สวั๋สสดีปี๋ใหม่เมือง 1382


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 16 เมษายน 2020, 11:32:10
(https://uppic.cc/d/6Gd9)


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 07 กันยายน 2020, 18:13:14
หมาขนคำ
แปลจากภาษาไทยกลางเป็นภาษาล้านนา

...จากเดิมอาจจะแปลมาจากภาษาล้านนา...
หาต้นฉบับไม่เจอครับ
ปกติผมชอบแปลจากภาษาล้านนา..(ไม่ปริวรรต) เป็นภาษาไทยกลาง
ผิดพลาดเขียนตกหล่นจะทยอยแก้ไข
เขียนภาษาล้านนาผิดพลาดยอมรับการติชม..แก้ไขครับ
* ขอลบตัวเขียนด้วยลายมือและนำเสนอเฉพาะตัวพิมพ์

ต้องขอออกตัวก่อนว่าผมไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ ไม่ว่าวรรณกรรมใดๆ ของล้านนา เพียงแต่ชอบอ่านและอยากแปลให้ผู้คนลูกหลานคนล้านนาในยุคหลังๆ ได้อ่านบ้างเท่านั้น "หมาขนคำ" ผมมีข้อมูลเพิ่มเติมมาเช่นนี้ครับ

"หมาขนคำ” คือวรรณกรรมมุขปาฐะที่สืบต่อกันมาโดยปรากฏในวัฒนธรรมล้านนา สันนิษฐานว่าอาจมีเค้ามาจากสุวัณณเมฆะหมาขนคำ หรือนิทานปัญญาสชาดก คู่มือธรรมใบลานในภาคเหนือ ในหลายท้องถิ่นก็เล่าเรื่องที่แตกต่างกันไป แต่จุดสำคัญของเรื่องเล่านี้ที่มีเหมือนกันคือ หมาขนคำ

หมาขนคำที่ยกมากล่าวถึงในบทความนี้คือตำนานในวัดพระธาตุดอยม่วงคำ จังหวัดลำปาง “สุวัณณเมฆะหมาขนคำ” กับ “หมาขนคำ-ดอยม่วงคำ” ค่อนข้างแตกต่างกันมาก สุวัณณเมฆะหมาขนคำเล่าเรื่องในอินเดียและมีรูปแบบเป็นชาดกเนื่องในพุทธศาสนา ขณะที่เรื่องหมาขนคำ-ดอยม่วงคำดูจะเป็นนิทานพื้นบ้านเสียมากกว่า

คำว่า คำ ในภาษาเหนือหมายถึงทอง และตามพจนานุกรมของราชบัณฑิตยสถานก็ให้ความหมายเช่นเดียวกันว่า น. ทองคำ เช่น หอคำ เชียงคำ อย่างไรก็ตาม หมาขนคำในตำนานเหล่านี้คือหมาที่มีขนดั่งทองคำไม่ใช่หมาที่มีขนเป็นทองคำ..ฯลฯ

มุขบาฐ, มุขปาฐะ
/มุกขะบาด, มุกขะ-/
คำนาม
การต่อปากกันมา, ข้อความที่ท่องจำกันมาด้วยปากเปล่า, การบอกเล่าต่อๆ กันมาด้วยปากเปล่า ไม่ได้เขียน หรือบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร.

อภิวฑฺฒโน
7/9/1382


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: pond555 ที่ วันที่ 10 กรกฎาคม 2022, 13:20:11
ไม่คิดว่าจะได้อ่านอะไรแปลกใหม่แบบนี้


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 24 กรกฎาคม 2022, 03:43:58
ไม่คิดว่าจะได้อ่านอะไรแปลกใหม่แบบนี้
ขอบคุณที่เข้ามาแวะชมและทักทายกัน..

เคยมีคนสอบถามเรื่อง..
ค่าวหมาขนคำ
ในเวอร์ชั่นภาษาล้านนา

ผมหาไม่ได้ครับ เลยเอาเวอร์ชั่นภาษาไทยมาแปล..
คาดว่าแปลมาจากต้นฉบับภาษาล้านนานั่นแหละ..ครับ

ก็แปลกลับไปกลับมา

ความจริงผมพิมพ์ในคอมฯ ก็ได้
แต่สายตาไม่ค่อยดีครับ มองคอมฯนานๆมักปวดตา..

หากอาการผมดีขึ้นคงได้จัดทำต่อไปให้จบครับ


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 24 กรกฎาคม 2022, 18:50:27
เอาเป็นว่าจะพิมพ์น่ะครับ...
สัญญาว่าจะทำให้จบเป็นเรื่องๆ ไปเริ่มด้วย"หมาขนคำ"นี่แหละครับ
ผมจาทยอยพิมพ์และลงจนจบเรื่องนี้น่ะครับ..ตามกำลังที่มี
*แปล พิมพ์ผิดถูกจะได้แก้ไขไปทีล่ะบท
ด้วยเหตุการกำหนดฟ้อนต์ตัวอักษรและการสะกดคำ..ที่อาจผิดพลาด

การแปลเป็นภาษาไทยกลาง อาจใช้คำไม่เหมือนกัน
อาทิ. การใช้ตัว ต..ต๋ะ  ท....ต๊ะ   ธ.....ทะ หรือธะ
         การใช้ตัว ร...ระ บางทีอาจแปลเป็น  ตัว รอ   บางทีอาจแปลเป็นตัว ฮอ
         การใช้ตัว ค.... ฆ..... ก.....
         การใช้ตัว จ.... ช......ซ..... ฯลฯ
นั่นเพราะ..แม้นว่าภาษาล้านนาจะมีความใกล้ชิดกันกับภาษาไทยกลาง แต่เป็นคนละภาษากับภาษาไทยกลางนั่นเอง

อ้างอิง...
คำเมือง (ภาษาล้านนา)
            เป็นภาษาที่จัดอยู่ในกลุ่มตระกูลภาษาไต-กะได มีผู้พูดกระจายตัวในภาคใต้ของจีน  ประมาณ 6 ล้านคนในภาคเหนือและหลายหมื่นคนในประเทศลาว ภาษาคำเมืองยังมีความใกล้ชิดกับภาษาไทยกลาง แต่นักมานุษยวิทยาชื่อ ริชาร์ด เดวิส ได้ศึกษาเปรียบภาษาไทเหนือกับไทยกลาง โดยใช้รายการคำศัพท์ของสวาเดซ (Swadesh List) เปรียบเทียบ 200 คำ ถ้าภาษาพ้องกัน 80 % ถือว่า เป็นภาษาเดียวกัน แต่เมื่อริชาร์ดได้ศึกษาเปรียบเทียบกลับพบว่า ภาษาไทเหนือมีความพ้องกับภาษาไทยกลางเพียง 61% เท่านั้น จึงถือว่า ภาษาไทเหนือหรือคำเมืองมีอิสระจากภาษาไทยกลางและเป็นภาษาเฉพาะในกลุ่มชาติพันธุ์ตนเอง (สุเทพ สุนทรเภสัช 2548: 197, ธเนศวร์ เจริญเมือง 2554:7-8)


ขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาแวะชม
...อภิวฑฺฒโน...
24 07 1384


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 01 สิงหาคม 2022, 13:33:52
กราบขอบคุณเจ้า...รออ่าน  :)


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 08 กันยายน 2022, 15:08:42
กราบขอบคุณเจ้า...รออ่าน  :)


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 18 กันยายน 2022, 18:20:45
หมาขนคำ(1.11-15)


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 23 กันยายน 2022, 08:51:58

เข้ามาอ่านแล้วอ่านเล่า เปิงใจ๋ขนาด...ขอบคุณเจ้า  ;D


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 24 กันยายน 2022, 01:28:39

เข้ามาอ่านแล้วอ่านเล่า เปิงใจ๋ขนาด...ขอบคุณเจ้า  ;D

ขอบคุณท่านที่ให้กำลังใจกันครับ
อภิวัฑฺฒโน
24/9/1384



หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2022, 15:04:06

เข้ามาอ่านแล้วอ่านเล่า เปิงใจ๋ขนาด...ขอบคุณเจ้า  ;D


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2022, 08:28:31
 :)


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: pond555 ที่ วันที่ 25 ธันวาคม 2022, 04:14:55
ยอดเยี่ยมมากครับ น้อยคนที่จะเคยได้อ่าน


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 26 ธันวาคม 2022, 09:14:28
ขอบคุณท่านที่สนใจ
ช่วงนี้ผมมีปัญหาเรื่องสายตา...
ขอเวลารักษาตัวสักระยะ
ภาษาล้านนาไม่มีวันตายตามคำปรามาสของคนบางเผ่า..
แม้แต่คนเผ่าไตยวนเราก็อาจยังมียุน่ะครับ...

ตัวเป็นคนเมืองแต่อู้กำเมืองอ่านกำเมือง เขียนกำเมือง
ฟังภาษาของเผ่าพันธุ์ตัวเองไม่รู้เรื่อง...ก็มีด้วย ฉนี้


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 27 ธันวาคม 2022, 21:06:06
ขอบคุณท่านที่สนใจ
ช่วงนี้ผมมีปัญหาเรื่องสายตา...
ขอเวลารักษาตัวสักระยะ
ภาษาล้านนาไม่มีวันตายตามคำปรามาสของคนบางเผ่า..
แม้แต่คนเผ่าไตยวนเราก็อาจยังมียุน่ะครับ...

ตัวเป็นคนเมืองแต่อู้กำเมืองอ่านกำเมือง เขียนกำเมือง
ฟังภาษาของเผ่าพันธุ์ตัวเองไม่รู้เรื่อง...ก็มีด้วย ฉนี้

ด้วยความห่วงใย ขอหื้อสายต๋ากลับมาเป๋นปกติโดยเร็วเน้อเจ้า


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 28 ธันวาคม 2022, 12:55:18
ขอบคุณท่านที่สนใจ
ช่วงนี้ผมมีปัญหาเรื่องสายตา...
ขอเวลารักษาตัวสักระยะ
ภาษาล้านนาไม่มีวันตายตามคำปรามาสของคนบางเผ่า..
แม้แต่คนเผ่าไตยวนเราก็อาจยังมียุน่ะครับ...

ตัวเป็นคนเมืองแต่อู้กำเมืองอ่านกำเมือง เขียนกำเมือง
ฟังภาษาของเผ่าพันธุ์ตัวเองไม่รู้เรื่อง...ก็มีด้วย ฉนี้

ด้วยความห่วงใย ขอหื้อสายต๋ากลับมาเป๋นปกติโดยเร็วเน้อเจ้า

ขอบพระคุณครับที่ห่วงใย......
ผมเป็นวุ้นในตาเสื่อมและมีต้อหินด้วย

รักษาที่ศูนย์เวชฯ หางดงเชียงใหม่
หมอบอกว่าหากรักษาอย่างต่อเนื่องอาการก็จาไม่ลุกลามครับ


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 22 มีนาคม 2023, 19:08:41
ขอบคุณท่านที่สนใจ
ช่วงนี้ผมมีปัญหาเรื่องสายตา...
ขอเวลารักษาตัวสักระยะ
ภาษาล้านนาไม่มีวันตายตามคำปรามาสของคนบางเผ่า..
แม้แต่คนเผ่าไตยวนเราก็อาจยังมียุน่ะครับ...

ตัวเป็นคนเมืองแต่อู้กำเมืองอ่านกำเมือง เขียนกำเมือง
ฟังภาษาของเผ่าพันธุ์ตัวเองไม่รู้เรื่อง...ก็มีด้วย ฉนี้

ด้วยความห่วงใย ขอหื้อสายต๋ากลับมาเป๋นปกติโดยเร็วเน้อเจ้า

ขอบพระคุณครับที่ห่วงใย......
ผมเป็นวุ้นในตาเสื่อมและมีต้อหินด้วย

รักษาที่ศูนย์เวชฯ หางดงเชียงใหม่
หมอบอกว่าหากรักษาอย่างต่อเนื่องอาการก็จาไม่ลุกลามครับ


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 06 เมษายน 2023, 05:27:05

ต๋าหายดีแล้วกาเจ้า...ดูแลสุขภาพเน้อ...เข้ามาอ่านหมือนเดิม  ;D


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 06 เมษายน 2023, 19:41:54
ดีขึ้นครับ...
อาจารย์หมอที่เชียงใหม่เก่งนะครับ
พอพิมพ์ได้และมองเห็นชัดขึ้นไม่ปวดลูกตา
.....ขอบพระคุณครับในความห่วงใย..


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 07 เมษายน 2023, 21:09:21
ขอบคุณท่านที่สนใจ
ช่วงนี้ผมมีปัญหาเรื่องสายตา...
ขอเวลารักษาตัวสักระยะ
ภาษาล้านนาไม่มีวันตายตามคำปรามาสของคนบางเผ่า..
แม้แต่คนเผ่าไตยวนเราก็อาจยังมียุน่ะครับ...

ตัวเป็นคนเมืองแต่อู้กำเมืองอ่านกำเมือง เขียนกำเมือง
ฟังภาษาของเผ่าพันธุ์ตัวเองไม่รู้เรื่อง...ก็มีด้วย ฉนี้

ด้วยความห่วงใย ขอหื้อสายต๋ากลับมาเป๋นปกติโดยเร็วเน้อเจ้า

หมาขนคำ 1.16-20


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 08 เมษายน 2023, 17:37:43

ต๋าหายดีแล้วกาเจ้า...ดูแลสุขภาพเน้อ...เข้ามาอ่านหมือนเดิม  ;D

หมาขนคำ 1.21-1.25


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 30 เมษายน 2023, 17:41:40

ต๋าหายดีแล้วกาเจ้า...ดูแลสุขภาพเน้อ...เข้ามาอ่านหมือนเดิม  ;D

หมาขนคำ 1.21-1.25



หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 04 พฤษภาคม 2023, 18:21:06

ต๋าหายดีแล้วกาเจ้า...ดูแลสุขภาพเน้อ...เข้ามาอ่านหมือนเดิม  ;D

หมาขนคำ 1.31-1.35



หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 24 พฤษภาคม 2023, 07:51:20

เข้ามาอ่าน..ม่วนอกม่วนใจ๋แต้เจ้า..เปิงใจ๋จ๋นเอาไปตั้งจื่อสวนว่า...ม่อนผาถะนา  :D


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: Number9 ที่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2023, 14:01:49
 :(


หัวข้อ: Re: "วรรณกรรมล้านนา"
เริ่มหัวข้อโดย: apiwattano ที่ วันที่ 30 ธันวาคม 2023, 15:53:23
:(
ขออภัยโรคภัยเบียดเบียน
ตาข้างขวาผมอาการเริ่มดีขึ้น
จะเขียนค่าวเรื่องหมาขนคำ
ต่อ..ช่วงอาทิตย์หน้าเป็นต้นไปครับ

ใกล้ปีใหม่ฝรั่ง..
รุสึกเฉยๆ
ฤดูกาลบ้านเขามันต่างจากบ้านเรา..

สังเกตุเรื่องภูมิอากาศได้น่ะครับ

ล้านนา
      ถือเอาช่วงสงกรานต์หรือปีใหม่เมือง เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านปี ต้องมีธรรมเนียมปฏิบัติเพื่อชำระสิ่งไม่ดีออกไป และรับสิ่งเป็นมงคลในวันปีใหม่

การปฏิบัติในเทศกาลสงกรานต์

1. วันสังขารล่อง เป็นวันที่ต้องทำความสะอาดบ้าน ชะล้างสิ่งไม่ดี

      วันที่ปีเก่าจะผ่านพ้นไป หากจะกล่าวในแง่ของดาราศาสตร์ คือวันที่ดวงอาทิตย์โคจรเข้าสู่ราศีเมษ ซึ่งถือเป็นวันสุดท้ายของปีเก่าที่กำลังจะผ่านพ้นไป คำว่า“ล่อง”ในภาษาล้านนา หมายถึง ล่วงไป หรือ ผ่านไปนั่นเอง

    วันสังขานต์ล่องของชาวล้านนา เป็นวันที่คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะเด็กๆ จะตื่นเต้นเพื่อรอต้อนรับวันขึ้นปีใหม่ วันสังขานต์ล่องจึงเป็นวันที่ทุกคนจะตื่นแต่เช้ามืดเพื่อรอดูปู่สังขานต์ ย่าสังขานต์ ที่เล่ากันว่าจะหอบข้าวของพะรุงพะรังมุ่งหน้าไปทางทิศใต้ หรือบางทีก็ล่องเรือไปตามลำน้ำ

    ชาวล้านนามีความเชื่อที่ยึดถือปฏิบัติมายาวนาน คือ“การดำหัว”หรือสระผมของตนเองด้วยน้ำขมิ้นส้มป่อย ซึ่งถือเป็นน้ำบริสุทธิ์ สะอาดและเป็นมงคลเพื่อชำระล้างสิ่งอัปมงคลให้ออกจากชีวิต

2. วันเน่า ห้ามทำในสิ่งไม่ดี ห้ามพูดไม่ดี และต้องเตรียมทำขนมไปวัด ขนทราย เตรียมของถวายพระ

    ศัพท์โหราศาสตร์เรียกวันเน่าว่า "วันปูติ" และ ซึ่งคำว่าปูตินั้น มีความหมายว่าเน่า ดังนั้นเราจึงเรียกกันว่า "วันเน่า" ไม่เรียกวันเนาว์ที่เหมือนกับภาคอื่น

    ในวันเน่าสำหรับวิถีปฏิบัติของคนล้านนา ถือเป็น“วันดา”คือวันที่เตรียมการสำหรับการไปทำบุญใหญ่ที่วัดในวันรุ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นวันพญาวัน ดังนั้น กิจกรรมหลักที่นิยมถือปฏิบัติกันในช่วงเช้าของวันนี้ คือการจัดเตรียมข้าวของสำหรับทำบุญ เช่น การเตรียมอาหารหม้อใหญ่ เนื่องจากต้องทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้บรรดาญาติที่ล่วงลับไปแล้ว เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย หรือ ลุง ป้า น้า อา ตามสายตระกูลของตน และยังทำบุญเพื่อหวังกุศลผลบุญให้กับตัวเองในภายภาคหน้าอีกด้วย

       อาหารที่คนล้านนานิยมจัดเตรียมไว้ทำบุญมักเป็นอาหารที่ค่อนข้างพิเศษกว่าอาหารปกติทั่วไป อาทิ แกงฮังเล ต้มจืดวุ้นเส้น ต้มส้มไก่(ต้มข่าไก่)ห่อนึ่ง(ห่อหมก)แกงเผ็ดต่างๆ ตามแบบภาคกลาง(ยุคปัจจุบัน) โดยบางบ้านอาจเตรียมอาหารหลากหลายชนิดตามฐานะและศรัทธาของตนเอง

3. วันพญาวัน ไปทำบุญที่วัดตอนเช้า สรงน้ำพระ และเริ่มดำหัวญาติผู้ใหญ่

     วันพญาวัน เป็นวันเถลิงศก หรือวันขึ้นปีใหม่ของชาวล้านนา ถือเป็นวันมงคล ช่วงเช้าของวันพญาวัน ควรเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับบุญกุศล วิญญาณ ความเชื่อ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ กล่าวคือ ไปทำบุญที่วัดเพื่อความเป็นสิริมงคล และอุทิศส่วนกุศลให้ดวงวิญญาณของผู้ล่วงลับ พร้อมอุทิศถึงเทวดา เจ้ากรรมนายเวร แล้วสรงน้ำพระเจดีย์พระพุทธรูป และปักตุงที่ค่อนข้างละเอียดลึกซึ้ง โดยแบ่งเป็นตุงประเภทต่างๆ ซึ่งความหมายส่วนใหญ่ล้วนเกี่ยวข้องกับเรื่องบุญกุศลและเรื่องของวิญญาณทั้งสิ้น

4. วันปากปี ทำบุญส่งเคราะห์ สืบชะตา กินอาหารที่ทำจากขนุน เพื่อให้หนุนนำชีวิตให้ดีขึ้น

     เป็นวันถัดจากวันพญาวัน ถือเป็นวันเริ่มต้นชีวิตที่ดีหลายพื้นที่จะประกอบพิธีสืบชาตาหมู่บ้าน ผู้คนไปร่วมงานกันพร้อมหน้า ตกเย็นจะมีการประกอบอาหารอันมีขนุนเป็นหลัก เช่น แกงขนุน ตำขนุน เป็นต้น เพราะเชื่อว่าจะเกิดการหนุนส่งให้ชีวิตพบเจอแต่สิ่งที่ดีงาม บ้างก็ทำอาหารประเภทลาบเอาเคล็ดทางโชคลาภเป็นประเดิม บ้างเสริมบารมี ด้วยการจุดเทียนมงคลบูชาพระ ซึ่งมักประกอบด้วยเทียนยันต์สืบชาตา หลีกเคราะห์หรือสะเดาะเคราะห์และรับโชค เป็นต้น

     “คนเมือง”

     คำว่า “คนเมือง” เป็นคำที่ใช้เรียกคนไทถิ่นล้านนา ตั้งแต่ เชียงใหม่ตลอดจนคนทางภาคเหนือ

ทำไมคนเหนือจึงเรียกตัวเองว่า “คนเมือง”

มีที่มาดังต่อไปนี้

       เรื่อง "กึ่งศตวรรษในหมู่ชาวสยามและชาวลาว” ในปี พ.ศ.2454 เรียกคนล้านนาว่าคนลาว เรียกภาษาล้านนาว่าภาษาลาว และเรียกดินแดนนี้ว่า ลาว

      ส่วนหมอด็อดด์หรือนายวิลเลียม คลิฟตัน เขียนหนังสือชื่อ “ชนชาติไทย” ในปี พ.ศ.2466 ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานการเรียกชื่อคนกลุ่มไหนว่าคนเมืองในภาคเหนือ

     สงวน โชติสุขรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญการปริวรรตอักขระล้านนาให้ความเห็นเมื่อปี พ.ศ.2516 ว่า คนเมืองหมายถึงคนที่อยู่ในเมือง มีวัฒนธรรม

     ส่วน จิตร ภูมิศักดิ์ นักวิชาการที่เขียนหนังสือ “ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอมและลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ” พิมพ์ครั้งแรกปี พ.ศ.2519 กล่าวถึงกลุ่มชาติพันธุ์ไทเมืองที่มีระบุในตำนานและพงศาวดารต่างๆ เช่น ตำนานสุวรรณโคมคำ ที่สืบค้นได้เก่าที่สุดว่าเป็นบรรพบุรุษชาวไทประชากรหลักในภาคเหนือหรือดินแดนล้านนา มีเชื้อสายสัมพันธ์กับชาวไทเหนือ ไทใหญ่และไทลื้อในยูนนาน ได้อพยพเคลื่อนย้ายมาตั้งอาณาจักรเล็กๆ ซ้อนทับพื้นที่แคว้นสุวรรณโคมคำของกรอมหรือขอมโบราณ จนพัฒนาไปเป็นอาณาจักรโยนก หิรัญนครเงินยาง และอาณาจักรล้านนา

      และจิตรกล่าวว่า คนเมือง เกิดขึ้นเพื่อเรียกตนเองเพื่อตอบโต้และเลี่ยงการถูกเหยียดหยามทั้งจากพม่าและสยามฝั่งซ้าย

     อันที่จริงแล้ว คำว่า คนเมือง ได้ถูกใช้เพื่อต่อสู้เชิงอัตลักษณ์กับรัฐสยามมาตั้งแต่ช่วงที่สยามส่งข้าหลวงเข้ามาควบคุม

      อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว ผู้เชี่ยวชาญภาษาล้านนา กล่าวในหนังสือ “รำลึกเชียงใหม่ 700 ปี” เมื่อ พ.ศ.2540 ว่าไม่พบคำว่า “คนเมือง” ในเอกสารโบราณของล้านนา

       สรัสวดี อ๋องสกุล ผู้เขียนหนังสือประวัติศาสตร์ล้านนาในปี พ.ศ.2529 ได้ยืนยันว่าคำว่า “คนเมือง” เพิ่งจะปรากฏเป็นครั้งแรก ในรายงานของกรมหมื่นพิชิตปรีชากร ข้าหลวงพิเศษฝ่ายลาวเฉียง (ดูแลเมืองลำพูนและลำปาง ระหว่าง พ.ศ.2427-2428) สอดคล้องกับคำกล่าวของไกรศรี นิมมานเหมินท์ ที่ว่าคนไทยวนในภาคอื่นๆ ไม่รู้จักคำว่า คนเมือง และชาวไทใหญ่ ไทเขิน ไทลื้อ ไทยองในล้านนาที่ผ่านมาช่วงร้อยกว่าปี ถือว่าตนเองเป็นคนเมืองทั้งสิ้น และไกรศรีเองก็เป็นผู้นำการสร้างหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นฉบับแรกของเชียงใหม่ที่ชื่อว่า “คนเมือง” ในปี พ.ศ.2496 และเป็นผู้รณรงค์วัฒนธรรมและศักดิ์ศรีคนเมือง

      ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า คำว่า “คนเมือง” เป็นคำที่เพิ่งจะเกิดขึ้นมาในสมัยหลังการปฏิรูปการปกครองจนสมัยรัชกาลที่ 5 มานี้เอง

     คนเมืองมีเอกลักษณ์ที่น่าภูมิใจของตนเองที่ชัดเจนทั้งประวัติศาสตร์ จารีต วรรณกรรม ภาษา และศิลปวัฒนธรรมต่างๆ

    ธเนศวร์ เจริญเมือง มีความเห็นในทางเดียวกันถึงที่มาของคำว่า คนเมือง ดังเช่นที่กล่าวมา